Page 185 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 185

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  599




                                                                             [8]
            ในการรักษาผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ แพทย์จะให้   และเป็นยาขับประจ�าเดือน  ฝางประกอบด้วยสาร
            ผู้ป่วยรับประทานเกลือแร่เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกาย   ส�าคัญในกลุ่ม phenolic และ homoisoflavonoids

            สูญเสียน�้าและเกลือแร่มากเกินไป นอกจากนั้นยัง  เช่น brazilin, brazilein, sappanol และ sappanone
            มีการให้ผู้ป่วยรับประทานยาตามอาการ เช่น ยาลด  A [9-10]  การเข้าใจถึงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและกลไกใน
            อาการปวดเกร็งในช่องท้อง ยาแก้ท้องอืด ยาขับลม แต่  การออกฤทธิ์ของสารส�าคัญจะช่วยเสริมความมั่นใจ

            หากผู้ป่วยมีอาการไข้สูงเกิน 72 ชั่วโมงก็จะมีการให้ยา  ให้เลือกใช้ฝางเพื่อบรรเทาอาการของผู้ป่วยโรค
            ปฏิชีวนะเพื่อช่วยฆ่าเชื้อและลดการอักเสบของล�าไส้   อาหารเป็นพิษจากเชื้อแบคทีเรีย การทบทวน
            โดยยาฆ่าเชื้ออันดับแรกที่แพทย์จะเลือกใช้ส�าหรับ  วรรณกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูล

            รักษาผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวคือ norfloxacin นอกจาก  ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับผลของแก่นฝางและสารออก
            นั้นยังมียาฆ่าเชื้อชนิดอื่น ๆ เช่น ciprofloxacin และ   ฤทธิ์ที่ส�าคัญจากฝางต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อ
                        [3]
            azithromycin  การให้ยาปฏิชีวนะแก่ผู้ป่วยนั้นแม้  ให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ และการลดอาการอักเสบ
            จะมีข้อดี แต่ก็อาจท�าให้เกิดผลเสียหลายด้าน โดย  เพื่อให้ทราบถึงกลไกการออกฤทธิ์ของสมุนไพรดังกล่าว
            เฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ป่วยไม่ได้รับประทานยาตาม

            แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัดก็จะเป็นการเพิ่มโอกาสใน         วิธีก�รสืบค้นข้อมูล
            การเกิดเชื้อดื้อยาที่มีความรุนแรงมากขึ้น และท�าให้      สืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นบทความ
                                                   [4]
            การรักษาการติดเชื้อนั้นเป็นไปได้ยากขึ้นกว่าเดิม    งานวิจัย บทความการทบทวนอย่างเป็นระบบ และ
            ดังนั้นการรักษาโรคอาหารเป็นพิษในปัจจุบันจึง  การวิเคราะห์อภิมานที่เกี่ยวกับหัวข้อโรคอาหารเป็น
            เป็นการรักษาตามอาการและลดการใช้ยาปฏิชีวนะ   พิษจากเชื้อแบคทีเรีย ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียและฤทธิ์

            รวมถึงการเพิ่มอัตราการใช้ยาทางเลือก เช่น ยาจาก  ต้านการอักเสบของฝาง บนฐานข้อมูลของ Pubmed,
            สมุนไพรเพื่อช่วยในการรักษา  ในปัจจุบันการศึกษา  Sciencedirect, Thai-Journal Citation Index
                                   [5]
            สารจากสมุนไพรเพื่อน�ามาใช้เป็นยาต้านเชื้อแบคทีเรีย  Centre ร่วมกับข้อมูลจากเว็บไซต์

            ทดแทนยาปฏิชีวนะจึงได้รับความสนใจเป็นอย่าง        ค�ำส�ำคัญที่ใช้ในกำรค้น: โรคอาหารเป็นพิษจาก
            มาก โดยเฉพาะการต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีการดื้อต่อ  เชื้อแบคทีเรีย, ฝาง, ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย, ฤทธิ์ต้าน
            ยาปฏิชีวนะ [6-7]                            การอักเสบ, Caesalpinia sappan, food poision-

                 ในทางการแพทย์แผนไทยมีการใช้สมุนไพร     ing, foodborne bacteria, antibacterial activity,
            หลากหลายชนิดเพื่อช่วยในการรักษาโรค ซึ่งสมุนไพร  anti-inflammation
            ที่ใช้นั้นมีทั้งสมุนไพรเดี่ยว และการใช้สมุนไพรร่วม

            กันหลายชนิดประกอบกันเป็นต�ารับ โดยสมุนไพรที่            เนื้อห�ที่ทบทวน
            มีสรรพคุณช่วยในการรักษาอาการท้องเสียที่น่าสนใจ

            ชนิดหนึ่งคือ ฝาง ซึ่งถูกใช้ในทางการแพทย์แผนไทย  1. โรคอ�ห�รเป็นพิษจ�กเชื้อแบคทีเรีย
            มาตั้งแต่อดีต สรรพคุณทางยาของแก่นฝาง ได้แก่ การ     1.1 แบคทีเรียที่เป็นสำเหตุของโรคอำหำรเป็นพิษ
            ใช้เป็นยาบ�ารุงเลือดในยาสตรี รักษาอาการท้องร่วง      แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุส�าคัญที่ก่อให้เกิดโรค
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190