Page 186 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 186

600 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           อาหารเป็นพิษมีสองกลุ่มใหญ่ คือ แบคทีเรียแกรม  IL-6, TNF-α และ IL-1b จะกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ
           บวกและแบคทีเรียแกรมลบ โดยแบคทีเรียแกรม      ผนังล�าไส้ท�าให้ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องร่วมกับถ่าย

           บวกที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ ได้แก่    เหลว นอกจากนั้นการติดเชื้อบางชนิด เช่น Shigella
           S. aureus, B. cereus, Listeria monocytogenes,   จะท�าให้เซลล์บริเวณผนังล�าไส้เกิดการตายและท�าให้
           Clostridium perfringens และ Clostridium     เกิดการอักเสบรุนแรงบริเวณล�าไส้ [13-14]

           botulinum โดยอาการแสดงของผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อ
           แบคทีเรียเหล่านี้จะมีอาการอาเจียน เวียนศีรษะ   2. ฝ�ง
           ปวดท้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นการได้รับเชื้อ       2.1 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์

           C. botulinum ผู้ป่วยจะมีอาการรุนแรงมากยิ่งขึ้น เช่น      ฝางเป็นไม้ยืนต้นที่อยู่ในวงศ์ Fabaceae ที่มี
           เป็นอัมพาตชั่วคราว ไม่สามารถกลืนอาหารได้ พูดไม่  ความสูง 4-8 เมตร ล�าต้นและกิ่งมีหนามจ�านวนมาก
                                                 [11]
           ได้ แต่อย่างไรก็ตามอาการเหล่านี้สามารถหายได้เอง     เนื้อไม้ลักษณะเป็นสีน�้าตาล แก่นไม้เป็นสีแดง ใบ
           ส�าหรับแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นสาเหตุของโรคอาหาร  มีลักษณะเป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับกัน
           เป็นพิษและพบได้บ่อย ได้แก่ Campylobacter    เป็นคู่ประมาณ 8-16 คู่ ขนาดใบมีความยาว 20-45

           jejuni, Salmonella, Shigella, Escherichia coli,   เซนติเมตร กว้าง 10-20 เซนติเมตร ดอกมีลักษณะ
           Yersinia enterocolitica, Vibrio cholerae ผู้ป่วย  เป็นช่อความยาวรวมตลอดช่อดอกประมาณ 30-40
           ที่ติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่มนี้มักจะมีอาการท้องเสีย ถ่าย  เซนติเมตร กลีบดอกมีสีเหลือง [15]

           เหลว ปวดท้องอย่างรุนแรง ในผู้ป่วยบางคนอาจพบ     2.2 สำรส�ำคัญที่พบในแก่นฝำง
           อาการไข้ อาเจียน หรือมีอาการอักเสบของล�าไส้ร่วม     แก่นฝางพบสาร brazilin เป็นองค์ประกอบหลัก

           ด้วย โดยอาการต่าง ๆ ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย  โดยสารดังกล่าวจัดอยู่ในกลุ่ม homoisoflavonoids
           แกรมลบสามารถหายเองได้ แต่จะใช้เวลานานกว่า   นอกจาก brazilin แล้วยังพบสารอื่น ๆ อีกหลาย
           การติดเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก เนื่องจากการติดเชื้อ  ชนิด ได้แก่ brazilein, sappanol, episappanol,

           แบคทีเรียแกรมลบมีอาการรุนแรงกว่าจึงอาจต้องมี  protosappanin A-C, caesappin A-B, sappa-
           การใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยบางรายเพื่อช่วยฆ่าเชื้อและ  none A, sappanone B, deoxysappanone B,
           รักษาอาการติดเชื้อในล�าไส้ [11-12]          neosappanone A, neoprotosappanin, caesalpin

                1.2  อำกำรอักเสบในล�ำไส้จำกกำรติดเชื้อ  J, caesalpin P และ 3-deoxysappanchalcone
                เชื้อแบคทีเรียแกรมลบหลายชนิดสามารถ     นอกจากนั้นยังพบสารในกลุ่ม phenolic ได้แก่ cae-
           บุกรุกเข้าสู่ล�าไส้และกระตุ้นให้เกิดการอักเสบบริเวณ  salpiniaphenol A-H, epicaesalpin J, 7,10,11-tri-

           ล�าไส้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อ Salmonella,   hydroxydracaenone [10,16-18]
           Shigella และ E. coli ซึ่งเชื้อเหล่านี้จะยึดเกาะกับผนัง     2.3 ฤทธิ์ต้ำนเชื้อแบคทีเรียของแก่นฝำง

           ล�าไส้ส่งผลให้มีเซลล์แมคโครฟาจจ�านวนมากเคลื่อน     มีการน�าแก่นฝางมาสกัดสารด้วยตัวท�าละลาย
           ตัวมายังบริเวณที่มีการติดเชื้อและผลิตสารเพื่อท�าลาย  หลากหลายชนิด เช่น น�้า, เมทานอล, เอทานอล และ
           เชื้อแบคทีเรียเหล่านี้ สารดังกล่าวเช่น nitric oxide,   เฮกเซน เป็นต้น ซึ่งผลของสารสกัดจากตัวท�าละลาย
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191