Page 180 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 180

594 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           MMSE (Mini-Mental State Exam) และ SDS-      ties Of Daily Living) และ MMSE (Mini-Mental
           VD (The Severity of Dependence Scale) พบว่า  State Exam) พบว่าหลังการรักษาตามเกณฑ์ประเมิน

           มีประสิทธิผลการรักษาคิดเป็นร้อยละ 95.5 มีค่านัย  MMSE กลุ่มรักษาคะแนนอยู่ที่ 22.3 ± 4.6 กลุ่ม
           ส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05                  ควบคุมคะแนนอยู่ที่ 19.1 ± 3.8 ส่วนเกณฑ์ประเมิน
                           [30]
                หวังเจียเสียง  ท�าการเก็บรวบรวมข้อมูล   ADL กลุ่มรักษาคะแนนอยู่ที่ 31.3 ± 7.8 กลุ่มควบคุม
           ผู้ป่วยจ�านวน 60 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม  อยู่ที่ 36.8 ± 7.3 โดยสองกลุ่มมีความแตกต่างอย่างมี
           รักษาใช้วิธีฝังเข็มแบบปลุกสมองเปิดทวารร่วมกับ  นัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05
           การรับประทานยาดังต่อไปนี้ สู่ตี้ (熟地) ซานจูหยู

           (山茱萸) โก่วฉีจึ (枸杞子) หยวนจื้อ (远志) อย่างละ                 บทวิจำรณ์
           30 g เหอโส่วอู (何首乌) ตังกุย (当归) ไป๋สาว (白芍)      จากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาภาวะ
           สือชางผู่ (石菖蒲) อย่างละ 15 g ตันเซิน (丹参) จ่าว  สมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือดสมองพบว่าวิธีฝัง

           เหริน (枣仁) หลงกู่ (龙骨) มู่ลี่ (牡蛎) อย่างละ 20 g   เข็มปลุกสมองเปิดทวารร่วมกับการรับประทานยา
           วันละ 1 ครั้ง สัปดาห์ละ 5 วัน กลุ่มควบคุมใช้วิธีรับ  สมุนไพรจีนถือเป็นวิธีที่มีประสิทธิผลสูงสุดวิธีหนึ่ง

           ประทานยา Piracetam 0.8 มล. วันละ 3 ครั้ง ทั้ง 2   ของศาสตร์แพทย์แผนจีน โดยจุดฝังเข็มหลัก 3 จุดที่
           กลุ่มรักษาต่อเนื่อง 3 เดือน นับเป็น 1 รอบการรักษา   มีผลต่อการรักษาโรค ได้แก่ จุด RenZhong (GV26)
           แล้วติดตามผล พบว่ากลุ่มรักษามีประสิทธิผลการ  NeiGuan (PC6) SanYinJiao (SP6) โดยเมื่อฝังเข็ม

           รักษาคิดเป็นร้อยละ 86.7 กลุ่มควบคุมมีประสิทธิผล  ทั้ง 3 จุดนี้ จะมีประสิทธิผลการกระตุ้นและซ่อมแซม
           การรักษาคิดเป็นร้อยละ 63.3 โดยสองกลุ่มมีความ  เซลล์สมอง สามารถแก้ไขพยาธิสภาพของสมองช่วย

           แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05   เปิดทวารใสในส่วนที่ปิดกั้น ช่วยปรับพยาธิสภาพ
                หลิวซิ่วเฉิน  ท�าการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย  ของสมองให้ฟื้นตัวดีขึ้นเป็นหลักส�าคัญ ผนวกกับ
                        [31]
           จ�านวน 80 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มรักษา  การปรับพลังและเลือดของอวัยวะในร่างกาย เพื่อเข้า

           ใช้วิธีฝังเข็มแบบปลุกสมองเปิดทวารร่วมกับการรับ  ถึงการเปิดทวารปลุกจิตวิญญาณ น�าพารากเหง้าแห่ง
                                                       จิตวิญญาณ (元神) กลับสู่สมอง ฟื้นฟูกลไกของจิต
           ประทานยาสมุนไพรจีนต�ารับปู่เซิ่นไคเชี่ยวทัง (补肾
                                                       วิญญาณให้กลับมาปกติ ส่วนการเลือกใช้ยาสมุนไพร
           开窍汤) ประกอบด้วย สู่ตี้ (熟地) 20 g หวงจิน (黄
           金) 15 g ซานจูหยู (山茱萸) 15 g ซานชี (三七) 6 g   จีนในการรักษาโรคสมองเสื่อมจะมุ่งเน้นการบ�ารุง
           ชวนชง (川芎) 12 g ตันเซิน (丹参) 10 g เทียนหมา   ไตและไขกระดูกเป็นพื้นฐานส�าคัญซึ่งสอดคล้องกับ
           (天麻) 15 g ฝูหลิง (茯苓) 20 g สือชางผู่ (石菖蒲)   แนวทางการรักษาโรคข้างต้นที่กล่าวมา โดยตัวยา

           12 g เจียงปั้นเซี่ย (姜半夏) 9 g หลิงจือ (灵芝) 6 g   ส�าคัญที่ใช้บ่อยที่สุด 3 ตัว ได้แก่ สือชางผู่ (石菖蒲)
           หวงฉี (黄芪) 20 g โหร่วฉงหรง (肉苁蓉) 15 g กลุ่ม  เหอโส่วอู (何首乌) และอี้จือเหริน (益智仁)

           ควบคุมรับประทานยา Huperzine A 0.1 มล. ทั้ง 2
           กลุ่มรักษาต่อเนื่อง 12 สัปดาห์นับเป็น 1 รอบการรักษา         บทสรุป
           และติดตามผล โดยใช้แบบประเมิน ADL (Activi-       จากการศึกษาพบว่าหากใช้วิธีฝังเข็มแบบปลุก
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185