Page 176 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 176
590 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
รักษาคะแนนอยู่ที่ 12.84 ± 5.50 หลังการรักษา 14 วัน กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน กลุ่มรักษาใช้วิธีฝังเข็มแบบปลุก
คะแนนอยู่ที่ 12.86 ± 5.08 และหลังการรักษา 28 วัน สมองเปิดทวารร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า กลุ่มควบคุม
คะแนนอยู่ที่ 17.14 ± 4.99 ผลการรักษาดีขึ้นอย่างมี รับประทานยา Donepezil HCL 7.5 mg วันละ 1
นัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05 ครั้ง ท�าการรักษาต่อเนื่องเป็นเวลา 4 สัปดาห์ ใช้แบบ
[11]
ฉาวหรุ่ย ศึกษาผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมจาก ประเมิน MMSE (Mini-Mental State Exam) และ
โรคหลอดเลือดสมองจ�านวน 80 คน แบ่งออกเป็น 2 ADL (Activities Of Daily Living) ในการวัดผล พบ
กลุ่ม กลุ่มรักษาใช้วิธีฝังเข็มแบบปลุกสมองเปิดทวาร ว่าเกณฑ์ MMSE กลุ่มรักษาก่อนการรักษามีคะแนน
เลือกใช้จุด RenZhong (GV26) BaiHui (GV20) อยู่ที่ 15.87 ± 2.01 หลังการรักษาคะแนนอยู่ที่ 20.51
SiShenCong (EX-HN1) FengChi (GB20) Wangu ± 2.73 ส่วนกลุ่มควบคุมก่อนการรักษามีคะแนนอยู่ที่
(GB12) Tianzhu (BL10) NeiGuan (PC6) Feng 15.43 ± 3.12 หลังการรักษาคะแนนอยู่ที่ 17.21 ± 2.26
Long (ST40) SanYinJiao (SP6) กลุ่มควบคุมรับ ในส่วนเกณฑ์ ADL ของกลุ่มรักษาก่อนการรักษาอยู่ที่
ประทานยา Nicergoline 10 mg วันละ 3 ครั้ง รักษา 47.89 ± 4.69 หลังการรักษาอยู่ที่ 37.42 ± 4.86 กลุ่ม
ต่อเนื่องเป็นเวลา 1 เดือน หลังจากนั้นให้คะแนนผล ควบคุมก่อนการรักษาอยู่ที่ 47.12 ± 5.57 หลังการ
การรักษาตามแบบประเมิน HDS (Hogan Develop รักษาอยู่ที่ 43.89 ± 5.02 โดยสองกลุ่มมีความแตกต่าง
Survey) พบว่ากลุ่มรักษามีประสิทธิผลการรักษาคิด อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05
[14]
เป็นร้อยละ 77.5 ส่วนกลุ่มควบคุมมีประสิทธิผลการ เฉินเยว่อิน เก็บข้อมูลผู้ป่วยจ�านวน 41 คน
รักษา คิดเป็นร้อยละ 52.5 โดยสองกลุ่มมีความแตก เลือกใช้จุด RenZhong (GV26) NeiGuan (PC6)
ต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05 ZuSanLi (ST36) SanYinJiao (SP6) BaiHui
[12]
เหมาชิ่งจวี๋ ศึกษาผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมจาก (GV20) SiShenCong (EX-HN1) FengChi (GB20)
โรคหลอดเลือดสมองจ�านวน 60 คน ท�าการแบ่งออก TaiChong (LR3) โดยท�าการรักษาวันละ 1 ครั้ง
เป็น 3 กลุ่มเท่ากัน กลุ่มแรกรักษาโดยใช้วิธีการฝังเข็ม ครั้งละ 30 นาที 10 วันต่อเนื่อง นับเป็น 1 รอบการรักษา
แบบปลุกสมองเปิดทวารร่วมกับการฝังเข็มที่ศีรษะ ท�าการรักษาทั้งสิ้น 8 รอบการรักษา พบว่าประสิทธิผล
กลุ่มสองใช้วิธีฝังเข็มแบบปลุกสมองเปิดทวาร และ การรักษาคิดเป็นร้อยละ 92.7 มีค่านัยส�าคัญทางสถิติ
กลุ่มสามรับประทานยา Piracetam 0.8 g หลังท�าการ ที่ p < 0.01
[15]
รักษา 30 วัน ใช้แบบประเมิน MMSE (Mini-Mental จ้าวจื้อกาน แบ่งผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมจาก
State Exam) และ Barthel (Barthel Scale) ในการ โรคหลอดเลือดสมองจ�านวน 60 คน ออกเป็น 2
วัดผล พบว่าการรักษาทั้ง 3 กลุ่มมีประสิทธิผลดีขึ้น กลุ่ม กลุ่มรักษาใช้วิธีฝังเข็มโดยเลือกใช้จุด BaiHui
คิดเป็นร้อยละ 90, 80 และ 60 ตามล�าดับ โดยทั้งสาม (GV20) SiShenCong (EX-HN1) ShenTing
กลุ่มมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < (DU24) FengChi (GB20) TouWei (ST8) TaiXi
0.05 (KI3) SanYinJiao (SP6) GuanYuan (CV4) Qi-
หวังเซิ่งหนาน แบ่งผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม Hai (CV6) NeiGuan (PC6) ShenMen (HT7)
[13]
จากโรคหลอดเลือดสมองจ�านวน 60 คน ออกเป็น 2 TaiChong (LR3) โดยฝังเข็มวันละ 1 ครั้ง กลุ่ม