Page 178 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 178

592 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           State Exam), ADL (Activities Of Daily Living)   จู๋ (白术) 15 g ฝูหลิง (茯苓) 15 g รับประทานยา
           และ SDS-VD (The Severity of Dependence      วันละ 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมรับประทานยา Pirace-

           Scale) พบว่าเกณฑ์ MMSE กลุ่มรักษามีคะแนน    tam 800 มล. วันละ 3 ครั้ง 30 วัน นับเป็น 1 รอบ
           เปลี่ยนแปลงจาก 17.3 ± 2.28 เป็น 21.2 ± 2.69 เพิ่ม  การรักษา ท�าการเก็บข้อมูล 3 รอบการรักษา โดย
           ขึ้น 3.9 คะแนน เกณฑ์ ADL เปลี่ยนแปลงจาก 10.18   ใช้แบบประเมิน MMSE (Mini-Mental State

           ± 2.17 เป็น 7.58 ± 2.16 ลดลง 2.6 คะแนน เกณฑ์   Exam) ADL (Activities Of Daily Living) และ
           SDS-VD เปลี่ยนแปลงจาก 17.87 ± 2.09 เป็น 13.12   SDS-VD (The Severity of Dependence Scale)
           ± 1.39 ลดลง 4.75 คะแนน ส่วนกลุ่มควบคุมเกณฑ์   พบว่ากลุ่มรักษามีประสิทธิผลการรักษาคิดเป็น

           MMSE เปลี่ยนแปลงจาก 16.5 ± 2.21 เป็น 18.6 ±   ร้อยละ 93.8 กลุ่มควบคุมมีประสิทธิผลการรักษาคิด
           3.09 เพิ่มขึ้น 2.1 คะแนน เกณฑ์ ADL เปลี่ยนแปลง  เป็นร้อยละ 83.3 โดยสองกลุ่มมีความแตกต่างอย่าง
           จาก 10.75 ± 1.84 เป็น 9.7 ± 2.20 ลดลง 1.05 คะแนน   มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05

           เกณฑ์ SDS-VD เปลี่ยนแปลงจาก 18.23 ± 1.72 เป็น      2.2 วิธีร่วมในการรักษา
           17.69 ± 0.05 ลดลง 3.48 คะแนน โดยสองกลุ่มมี      1)  วิธีการฝังเข็มแบบปลุกสมองเปิดทวารร่วม

           ความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05  กับการรับประทานยาสมุนไพรจีน
                         [21]
                เจาย่าหลาน ทดลองรักษาผู้ป่วยภาวะสมอง       ตามคัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง《黄帝内经》กล่าวไว้
           เสื่อมจากโรคหลอดเลือดสมองด้วยตัวยา อิ๋นซิ่ง   ว่า “ใช้ยารักษาปรับสมดุลภายใน ใช้การฝังเข็มเพื่อ

           (银杏) เฉอจู๋สือซาน (蛇足石杉) เจียงหวง (姜黄)      รักษาปรับสมดุลจากภายนอก’’ เกิดเป็นทฤษฎีการ
           เหรินเซิน (人参) ซานชี ( 三七) ตันเซิน (丹参) โก่วฉีจึ   รักษาทั้งภายนอกและภายในร่วมกันเพื่อประสิทธิผล

           (枸杞子) หงฮวา (红花) พบว่าสามารถช่วยเรื่องฟื้นฟู  การรักษาที่ดีที่สุด [23]
                                                                      [24]
           ความทรงจ�าและสติสัมปชัญญะได้เป็นอย่างดี โดย     หยางเหมยอิง  ติดตามผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม
           ประสิทธิผลการรักษาคิดเป็นร้อยละ 84.04 มีค่านัย  จากโรคหลอดเลือดสมองจ�านวน 46 คน ใช้วิธีการฝัง

           ส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05                  เข็มของอาจารย์สือเสวหมิ่นร่วมกับการรับประทาน
                หวังจวิน รักษาผู้ป่วยจ�านวน 106 ราย โดย  ยาสมุนไพรจีนต�ารับปู่หยางหวนอู่ทัง (补阳还五汤)
                      [22]
           แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มรักษาใช้วิธีรับประทานยา  ประกอบด้วย หวงฉี (黄芪) 30-60 g ตังกุย (当归)

           จีนต�ารับฮว๋าจั้วอี้เสินทัง (化浊益神汤) ประกอบ  ซื่อสาว (赤芍) ถาวเหริน (桃仁) หงฮวา (红花) ชางผู่
           ด้วย หวงฉิน (黄芩) 12 g หวงเหลียน (黄连) 15 g   (菖蒲) หยวนจื้อ (远志) ตี้หลง (地龙) อย่างละ 10 g
           อินเฉิน (茵陈) 30 g ฮั่วเซียง (藿香) 10 g เพ่ยหลาน    ซางจี้เซิง (桑寄生) เหอโส่วอู (何首乌) อย่างละ 15 g

                                                       กวาโหลว (瓜楼) 15-30 g ยวู่จิน (郁金) 6 g หลังการ
           (佩兰) 10 g ตังกุย (当归) 12 g เซิงหวงฉี (生黄
           芪) 15 g ชวนซง (川芎) 6 g ซื่อสาว (赤芍) 30 g    รักษา 30 วัน ใช้แบบประเมิน Hasegawa Dementia

           เถาเหริน (桃仁) 6 g หงฮวา (红花) 6 g เจียงฉาน   Scale พบว่ามีประสิทธิผลการรักษาคิดเป็นร้อยละ
           (僵蚕) 9 g ตี้หลง (地龙) 12 g สือชางผู่ (石菖蒲)   82.51 การรักษาดีขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p <
           10 g ยวู๋จิน (郁金) 10 g ซาเหริน (砂仁) 12 g ไป๋  0.05
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183