Page 167 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 167
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 581
ตารางที่ 1 การออกฤทธิ์ของสมุนไพรในต�ารับยาทาพระเส้น (ต่อ)
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ส่วนที่ใช้ รส สรรพคุณตามต�าราไทย ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตองแตก Baliospermum solanifolium ใบ เบื่อขมเล็กน้อย ถ่ายพยาธิ แก้ฟกบวม แก้ anti-inflammatory [22]
[9]
(Burm.) Suresh ดีซ่าน แก้หืด [9]
[23]
[10]
ตะไคร้หอม Cymbopogon nardus ต้น ปร่าร้อน ขม แก้ริดสีดวงในปาก ขับโลหิต anti-inflammatory ,
(L.) Rendle ท�าให้มดลูกบีบตัว ขับลม analgesic [24]
ในล�าไส้ แก้แน่น ใช้ท�ายา
ฆ่าแมลง กันยุงได้ด ี[10]
มะขาม Tamarindus indica L. ใบ เปรี้ยวฝาด ขับเสมหะในล�าไส้ แก้บิด anti-inflammatory [25-26] ,
[9]
[9]
แก้ไอ antinociceptive [25-26] ,
analgesic [27]
เลี่ยน Melia azedarach L. ใบ ขมเมา ขับพยาธิ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว anti-inflammatory ,
[28]
[9]
บ�ารุงโลหิตประจ�าเดือน rheumatic pain [29]
[9]
กระชาย Boesenbergia rotunda เหง้า เผ็ดร้อนขม ท�าให้จิตใจกระชุ่มกระชวย anti-inflammatory [30-31]
[9]
(L.) Mansf. เล็กน้อย [9]
[9]
กระเทียม Allium sativum L. ผล ร้อน กลิ่นฉุน แก้ไอ แก้โรคผิวหนัง กลาก anti-inflammatory [32-33] ,
เกลื้อน แผลเน่า เนื้อร้าย rheumatoid arthritis
[33]
บ�ารุงธาตุ ขับโลหิตระดู
แก้โรคประสาท น�้าคั้น
[9]
หยอดหู แก้ปวดหูและหูอื้อ
ข่า Alpinia galanga (L.) Willd. เหง้า เผ็ดร้อน ปร่า แก้เลือดเดินไม่สะดวก anti-inflammatory [34-35] ,
[9]
แก้เหน็บชา แก้เสมหะ analgesic
[36]
และโลหิต [9]
พริกไทย Piper nigrum L. เมล็ด เผ็ดร้อน แก้ลมอัมพฤกษ์ ลมมุตฆาต anti-arthritic ,
[37]
[9]
ลมลั่นในท้อง แก้ท้องอืดเฟ้อ anti-inflammatory [37-38] ,
บ�ารุงธาตุ แก้เสมหะเฟื่อง analgesic [39]
[9]
มหาหิงคุ์ Ferula assa-foetida L. ยาง เฝื่อนร้อนเหม็น ขับลมในล�าไส้ แก้ปวด แก้ antinociceptive [40-41] ,
[10]
โรคเส้นประสาท แก้ชัก anti-inflammatory [41]
กระตุก [10]
ว่านหาง Aloe vera (L.) Burm.f. ยาง ขมจัด กลิ่นเหม็น ถ่ายท้อง ถ่ายพิษไข้ ถ่าย anti-inflammatory [43]
[9]
จระเข้ พยาธิไส้เดือน/ตัวตืด ขับ
(ยาด�า) น�้าดี ฝนกับสุราทาหัวฝี แก้
[9]
อาการฟกบวม
หอมแดง Allium ascalonicum L. หัว ร้อน ขับลมในกระเพาะอาหาร anti-inflammatory [44-45]
[10]
ล�าไส้ ต�าสุมกระหม่อมเด็ก
[10]
แก้หวัด