Page 149 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 149

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  563




            ตารางที่ 2  ต�ารับยาและสมุนไพรที่ใช้รักษาโรคเลือดโรคลมของหมอลินทร์ สิทธิพล (ต่อ)
             ต�ารับยารักษา   สรรพคุณ            สมุนไพร (ส่วนที่ใช้)               ข้อบ่งใช้

             6. ไข้เพื่อเลือด   ช่วยขับลม   จันทน์แดง (แก่น) / จันทน์ขาว (แก่น) / กระพังโหม (ใบ) /  ต้มรับประทาน
               เพื่อลม     กระจายลม  มะตูม (ผล) / มะขามป้อม (ผล)              ครั้งละ 1 แก้วเป๊ก
                           ในร่างกาย                                          หรือ 5 ช้อนโต๊ะ
                           ให้เป็นปกติ                                        วันละ 2 ครั้ง
                                                                              ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
             7. ไข้ตานซาง   แก้ไข้   จันทน์แดง (แก่น) / จันทน์ขาว (แก่น) / มะลิ (ดอก) /    ต้มรับประทาน
               ในเด็ก      ช่วยให้ขับถ่าย  พิกุล (ดอก) / บุนนาค (ดอก) / สารภี (ดอก) /    ครั้งละ 2-3 ช้อนชา
                           ขับลม     บัวหลวง (เกสร) / ชะเอมเทศ (ราก) / กะเพราขาว (ทั้งต้น) /  วันละ 2 ครั้ง
                                     กะเพราแดง (ทั้งต้น) / ราชพฤกษ์ (เนื้อในฝัก)   ก่อนอาหาร เช้า-เย็น

             8. ไข้ดีซ่าน   แก้ไข้ ขับถ่าย  จันทน์แดง (แก่น) / จันทน์ขาว (แก่น) / แกแล (แก่น) /    ต้มรับประทาน
                           ของเสีย   กระพังโหม (ใบ) / มะกา (ใบ) / ราชพฤกษ์ (เนื้อในฝัก) /    ครั้งละ 2 แก้วเป๊ก หรือ
                           ออกจาก   ยาด�า (ยางแห้งจากใบของพืชในตระกูลว่านหางจระเข้)    10 ช้อนโต้ะ วันละ 2 ครั้ง
                           ร่างกาย                                            ก่อนอาหาร เช้า-เย็น

             9. อาการตกขาว  รักษาอาการ  ขิง (เหง้า) / ข่า (เหง้า) / ขมิ้นอ้อย (เหง้า) /    ต้มรับประทาน
                           ตกขาว    เถาวัลย์เปรียง (เถา) / เเสมสาร (แก่น) / แสมทะเล (แก่น) /  ครั้งละครึ่งแก้วเป๊ก หรือ
                                    ขี้เหล็ก (แก่น) / โกฐเชียง (รากใต้ดิน) / โกฐสอ (เหง้า) /    ประมาณ 2-3 ช้อนโต๊ะ
                                    โกฐหัวบัว (เหง้า) / โกฐเขมา (เหง้า) / โกฐจุฬาลัมพา     วันละ 2 ครั้ง
                                    (ทั้งต้น) / เทียนด�า (เมล็ด) / เทียนแดง (เมล็ด) /    ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
                                    เทียนขาว (เมล็ด) / เทียนข้าวเปลือก (เมล็ด) /
                                    เทียนตาตั๊กแตน (เมล็ด) / กันเกรา (แก่น)
            10. อาการท้องผูก  ช่วยให้ขับถ่าย  ยาแก้ท้องผูกในผู้ใหญ่           ต้มรับประทาน
                           ขับลม    มะขามแขก (ใบ) / ราชพฤกษ์ (เนื้อในฝัก) / ยาด�า   ครึ่งแก้วเป๊ก หรือ
                           แก้ท้องอืด   (ยางแห้งจากใบของพืชในตระกูลว่านหางจระเข้) /    ประมาณ 2-3 ช้อนโต้ะ
                                    มะกา (ใบ) / กระพังโหม (ใบ)                เมื่อมีอาการ

                           ช่วยให้ขับถ่าย  ยาแก้ท้องผูกในเด็ก                 เอาสมุนไพรมาต�าผสมกัน
                           ผายลมในเด็ก  มะขาม (ใบ) / ยาด�า (ยางแห้งจากใบของพืชในตระกูล   น�าไปวางพอก ไว้บน
                                    ว่านหางจระเข้)                            กระหม่อมเด็ก โดยมีผ้ารอง
                                                                              ไว้ หลังพอกยาเสร็จ
                                                                              ให้หยดน�้าลงบนผ้าให้เปียก
                                                                              แล้วค่อย ๆ ลอกออก เพราะ
                                                                              หนังศีรษะตรงกระหม่อม
                                                                              ของเด็ก ค่อนข้างบอบบาง
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154