Page 150 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 150
564 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ตารางที่ 2 ต�ารับยาและสมุนไพรที่ใช้รักษาโรคเลือดโรคลมของหมอลินทร์ สิทธิพล (ต่อ)
ต�ารับยารักษา สรรพคุณ สมุนไพร (ส่วนที่ใช้) ข้อบ่งใช้
11. อาการท้องอืด ช่วยระบาย ยาแก้อาการท้องอืดในผู้ใหญ่ ต้มรับประทาน
ขับลม สมอเทศ (ผล) / สมอไทย (ผล) / สมอพิเภก (ผล) / ยาด�า ครั้งละ 1 แก้วเป๊ก หรือ
แก้ท้องอืด (ยางแห้งจากใบของพืชในตระกูลว่านหางจระเข้) / 5 ช้อนโต้ะ เมื่อมีอาการ
ราชพฤกษ์ (เนื้อในฝัก)
ช่วยขับลม ยาทาแก้อาการท้องอืดในเด็ก น�าขมิ้นอ้อยและ
แก้อาการ ขมิ้นอ้อย (เหง้า) / มหาหิงคุ์ (ยางที่ได้มาจากหัวรากใต้ดินของ มหาหิงคุ์มาฝนกับน�้า
ท้องอืดในเด็ก พืชในตระกูล Ferula) / หอยตลับ (เปลือก) จนเป็นลักษณะของเหลว
จากนั้นน�าไปวางบน
เปลือกหอย และน�า
เปลือกหอยไปลนไฟ ให้
ตัวยาเดือด พักไว้ให้เย็น
ใช้น�้ายาทาบริเวณท้องเด็ก
12. ผื่นคัน แก้ผื่นคันหรือ มะพร้าว (น�้ากะทิ) / งา (น�้ามัน) / ผึ้ง (รัง) / ขมิ้นอ้อย หลอมรังผึ้งให้ละลาย
แผลเปื่อย บาดแผลเปิด (เหง้า) / ไพล (เหง้า) / ว่านร่อนทอง (เหง้า) / พักไว้ให้เย็นจนกลายเป็น
เช่น แผลถลอก กะทือ (เหง้า) / กระชาย (เหง้า) / ขิง (เหง้า) / ข่า (เหง้า) ขี้ผึ้ง จากนั้นท�าการต�า
แผลที่เกิดจาก สมุนไพรให้ละเอียดและ
ของมีคม คั่นน�้ากะทิ น�ามาผสม
แผลเน่าเปื่อย กรองและเอากากทิ้ง
แผลไฟไหม้ น�าไปตั้งไฟเคี่ยว
แผลน�้าร้อนลวก ให้เกิดมัน ผสมน�้ามันงา
และขี้ผึ้งที่เตรียมไว้ลงไป
เคี่ยวด้วยไฟถ่าน
ให้ตัวยาเหลือ 1 ส่วน
จากทั้งหมด 5 ส่วน
เสร็จแล้วบรรจุลงในขวด
ใช้ทาบริเวณที่มีอาการ
13. ฟกช�้า แก้ฟกช�้า ไพล (เหง้า) / ว่านมหากาฬ (ใบ) น�าสมุนไพรแห้งมาบด
ให้เป็นผง ผสมน�้าพอก
วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
หรือพอกเป็นเวลา
อย่างน้อยครึ่งวัน
14. ไฟลามทุ่ง ลดอาการ ไมยราบ (ทั้งต้น) / สัก (แก่น) / ใบเงิน (ใบ) / ใบทอง (ใบ) / น�าสมุนไพรแห้งมาบด
ให้เป็นผงผสมน�้า
ปวด บวม หญ้าใต้ใบ (ทั้งต้น) / โด่ไม่รู้ล้ม (ใบ) พอกบริเวณที่เป็น
โดยใช้ผ้าสะอาดพันทับ
แดง ร้อน ตัวยา พอกวันละ 2 ครั้ง
เช้า-เย็น หรือพอกเป็น
เวลา อย่างน้อยครึ่งวัน