Page 148 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 148

562 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ตารางที่ 2  ต�ารับยาและสมุนไพรที่ใช้รักษาโรคเลือดโรคลมของหมอลินทร์ สิทธิพล
             ต�ารับยารักษา   สรรพคุณ             สมุนไพร (ส่วนที่ใช้)              ข้อบ่งใช้

            1. โรคเลือด    บ�ารุงเลือด   โกฐเชียง (ราก) / โกฐสอ (เหง้า) / โกฐหัวบัว (เหง้า) /   ต้มรับประทาน
              (ประจ�าเดือน  กระจายลม   โกฐเขมา (เหง้า) / โกฐจุฬาลัมพา (ทั้งต้น) /    ครั้งละ 1 แก้วเป๊ก
              ผิดปกติ)               เทียนด�า (เมล็ด) / เทียนแดง (เมล็ด) / เทียนขาว (เมล็ด) /   หรือ 5 ช้อนโต๊ะ
                                     เทียนข้าวเปลือก (เมล็ด) / เทียนตาตั๊กแตน (เมล็ด) /    วันละ 2 ครั้ง
                                     ข่า (เหง้า) / ขิง (เหง้า) / ขมิ้นอ้อย (เหง้า) /    ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
                                     กระชาย (เหง้า) / กะทือ (เหง้า) / ไพล (เหง้า) /     หากประจ�าเดือนมา
                                     มะกา (ใบ) / ลูกจันทน์ (เมล็ด) / ดอกจันทน์ (รกหุ้มเมล็ด) /   ปกติให้หยุด
                                     กระวาน (ผล) / กานพลู (ดอกตูม) / ยาด�า (ยางแห้งจาก   รับประทาน
                                     ใบของพืชในตระกูลว่านหางจระเข้) / ราชพฤกษ์ (เนื้อในฝัก)

            2. โรคโลหิตจาง   ฟอกโลหิต    ไพล (เหง้า) / ขมิ้นอ้อย (เหง้า) / ข่า (เหง้า) / ขิง (เหง้า) /  ต้มรับประทาน
                          บ�ารุงโลหิต   กะทือ (เหง้า) / มะขาม (ใบ) / ส้มป่อย (ใบ) / มะกา (ใบ) /  ครั้งละ 1 แก้วเป๊ก
                                     โกฐเชียง (ราก) / โกฐสอ (เหง้า) / โกฐหัวบัว (เหง้า) /   หรือ 5 ช้อนโต๊ะ
                                     โกฐเขมา (เหง้า) / โกฐจุฬาลัมพา (ทั้งต้น) /    วันละ 2 ครั้ง
                                     เทียนด�า (เมล็ด) / เทียนแดง (เมล็ด) / เทียนขาว (เมล็ด) /   ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
                                      เทียนข้าวเปลือก (เมล็ด) / เทียนตาตั๊กแตน (เมล็ด) /
                                     ดอกจันทน์ (รกหุ้มเมล็ด) / กระวาน (ผล) / กานพลู
                                     (ดอกตูม) / ดีปลี (ดอก)

            3. ไข้ทับระดู/   แก้ไข้   โกฐเชียง (ราก) / โกฐสอ (เหง้า) / โกฐหัวบัว (เหง้า) /   ต้มรับประทาน
              ระดูทับไข้   บ�ารุงโลหิต   โกฐเขมา (เหง้า) / โกฐจุฬาลัมพา (ทั้งต้น) / มะลิ (ดอก) /   ครั้งละ 1 แก้วเป๊ก
                                     พิกุล (ดอก) / บุนนาค (ดอก) / สารภี (ดอก) /   หรือ 5 ช้อนโต๊ะ
                                      บัวหลวง (เกสร) / จันทน์แดง (แก่น) / จันทน์ขาว (แก่น)   วันละ 2 ครั้ง
                                                                               ก่อนอาหาร เช้า-เย็น

            4. ไข้หน้าไฟ/   แก้ไข้   มะลิ (ดอก) / พิกุล (ดอก) / บุนนาค (ดอก) / สารภี (ดอก) /  ต้มรับประทาน
              ไข้หลังไฟ   แก้ปลายมือ    บัวหลวง (เกสร) / จันทน์แดง (แก่น) / จันทน์ขาว (แก่น) /  ครั้งละ 1 แก้วเป๊ก
                          ปลายเท้าเย็น  จันทน์ชะมด (แก่น) / ขอนดอก (เนื้อไม้) /    หรือ 5 ช้อนโต๊ะ
                          ที่เกิดในหญิง   มะขามป้อม (ผล) / สมอพิเภก (ผล) / สมอไทย (ผล)/    วันละ 2 ครั้ง
                          หลังคลอด   สมอเทศ (ผล) / สักขี (แก่น) / แกแล (แก่น)   ก่อนอาหาร เช้า-เย็น

            5. โรคลม      กระจายลม   กระพังโหม (ใบ) / มะขามป้อม (ผล) / มะตูม (ผล) /   ต้มรับประทาน
              (อาการวัยทอง)  ขับลม   จันทน์แดง (แก่น) / จันทน์ขาว (แก่น) / สักขี (แก่น) /    ครั้งละ 1-2 แก้วเป๊ก

                                     แกแล (แก่น) / ราชพฤกษ์ (เนื้อในฝัก) / มะกา (ใบ)   หรือ 5-10 ช้อนโต๊ะ
                                                                               วันละ 2 ครั้ง
                                                                               ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153