Page 146 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 146

560 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ส่วนที่ 2 หลักการและแนวทางการรักษาโรค       มาไม่ปกติ นอกจากนี้ มีการระบุข้อห้ามและอาหาร
           ของหมอพื้นบ้าน                              แสลงของโรค ยกตัวอย่าง เช่น ห้ามรับประทาน

                1) การตรวจวินิจฉัยโรคและเครื่องมือที่ใช้ใน  สับปะรด มะละกอ กล้วย อาหารหมักดอง พืชตระกูล
           การรักษา                                    แตง ส�าหรับการรักษาอาการประจ�าเดือนมาไม่ปกติ
                จากการศึกษาพบว่าหมอลินทร์ มีหลักในการ  ห้ามรับประทานเม็ดมะม่วงหิมพานต์ ยอดผักต่าง ๆ

           ตรวจวินิจฉัยโรค คือ เริ่มจากการซักประวัติและ  และอาหารหมักดอง ส�าหรับการรักษาอาการตกขาว
           ประเมินอาการจากการบอกเล่าของผู้ป่วย พร้อมทั้ง  เป็นต้น
           สังเกตลักษณะภายนอก ได้แก่ สีหน้า ท่าทาง และ     5) การติดตามและประเมินผลการรักษา

           ลักษณะการเดินของผู้ป่วย นอกจากนี้มีการตรวจ      การรักษาของหมอลินทร์ ไม่มีการติดตามอาการ
           ร่างกายด้วยวิธีการอังความเย็นบริเวณปลายมือใน  ที่ชัดเจน แต่จะประเมินจากผลการใช้ยาสมุนไพร ซึ่ง
           กรณีที่สงสัยว่าผู้ป่วยมีอาการไข้ ถ้าผู้ป่วยมีอาการไข้  หากผู้ป่วยยังคงมีอาการอยู่หรืออาการไม่ดีขึ้น จะ

           จะตรวจพบความเย็นบริเวณปลายมือของผู้ป่วย และ  ท�าการประเมินอาการและจ่ายยาให้รับประทานต่อ
           ในการรักษาโรคของหมอลินทร์ สิทธิพล ไม่มีการใช้  จนกว่าอาการจะดีขึ้นหรือหายเป็นปกติ

           เครื่องมือส�าหรับการตรวจโรคและการรักษา
                2) รูปแบบและวิธีการรักษา               ส่วนที่ 3 ตํารับยาและสมุนไพรที่ใช้รักษาโรค
                รูปแบบการรักษาของหมอลินทร์ ประกอบด้วย   ของหมอพื้นบ้าน

           การตรวจประเมินอาการ ร่วมกับการใช้ยาสมุนไพร      1) ยาสมุนไพรที่ใช้รักษาโรคเลือดโรคลม
           ได้แก่ ยาต้มรับประทาน และยาใช้ภายนอก            จากการศึกษาในครั้งนี้พบต�ารับยาที่ใช้ในการ

                3) จ�านวนผู้ป่วยและค่าตอบแทน           รักษาโรคของหมอลินทร์ จ�านวน 16 กลุ่มโรค/อาการ
                ผู้ป่วยที่มาท�าการรักษาโรคกับหมอลินทร์   รวมทั้งหมด 19 ต�ารับ (ตารางที่ 2) หากจ�าแนกตาม
           ส่วนใหญ่เป็นคนภายในพื้นที่อ�าเภอท้ายเหมืองและ  ชนิดของสมุนไพรได้จ�านวน 69 ชนิด แบ่งเป็นพืชวัตถุ

           อ�าเภอใกล้เคียงในจังหวัดพังงา ซึ่งในทุกสัปดาห์จะมี  63 ชนิด สัตว์วัตถุ 5 ชนิด และกระสายยา 1 ชนิด โดย
           ผู้ป่วยมาท�าการรักษาที่บ้านของหมอลินทร์ โดยเฉลี่ย  สมุนไพรที่ใช้ประกอบต�ารับยามากที่สุด คือ ยาด�า เนื้อ
           ประมาณ 15 คนต่อเดือน ทั้งนี้ไม่มีการเก็บค่ารักษา  ในฝักราชพฤกษ์ และจันทน์ทั้ง 2 พบการใช้ซ�้าจ�านวน

           จากผู้ป่วย แต่อาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม หากมีความ  6 ต�ารับ รองลงมา คือ ใบมะกา และขมิ้นอ้อย พบการ
           จ�าเป็นต้องใช้ยาสมุนไพรที่ต้องซื้อมาจากร้านจ�าหน่าย  ใช้ซ�้าจ�านวน 5 ต�ารับ และ กะพังโหม โกฐทั้ง 5 ข่า ขิง
           สมุนไพร                                     และไพล ใช้ซ�้าจ�านวน 4 ต�ารับ (ภาพที่ 3)

                4) ข้อแนะน�าหรือการปฏิบัติตัวหลังการรักษา     2) ส่วนที่ใช้ของยาสมุนไพรในต�ารับ
                หมอลินทร์ มีการให้ค�าแนะน�าในการรักษาโรค     จากการศึกษาพบส่วนของสมุนไพรที่ใช้มาก

           แก่ผู้ป่วย ได้แก่ การรับประทานอาหารเพื่อเสริมการ  ที่สุดในการประกอบต�ารับยา คือ แก่นและเนื้อไม้
           รักษา ยกตัวอย่าง เช่น รับประทานผลไม้รสเปรี้ยว   จ�านวน 12 ชนิด รองลงมา คือ หัวและเหง้า จ�านวน 10
           เพื่อช่วยฟอกเลือดในการรักษาอาการประจ�าเดือน  ชนิด และ ใบและผล จ�านวนอย่างละ 9 ชนิด (ตารางที่ 2)
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151