Page 182 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 182
380 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
ลักษณะเด่นของการรมยา คือ ควบคุมการท�าหน้าที่ 1. ตา แพทย์จีนใช้การมองดูเส้น สี รูปร่าง ของ
มากเกินของร่างกายและท�าให้การท�างานที่ลดลงมีแนว ร่างกายและอวัยวะส่วนต่าง ๆ ลักษณะท่าทางการเดิน
โน้มที่จะกลับมาในภาวะที่สมดุล [17] ดูลิ้น สารคัดหลั่ง และ สิ่งขับถ่าย เป็นต้น
5. การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า (electrotherapy) 2. จมูก ใช้ดมกลิ่นตัว กลิ่นปาก กลิ่นอุจจาระ
คือ การใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าปล่อยกระแสไฟฟ้าที่ และกลิ่นปัสสาวะของคนไข้
คล้ายกับร่างกายมนุษย์ออกมาอย่างอ่อน ภายหลังจาก 3. หู ใช้ฟังเสียงพูด เสียงไอ เสียง สมหายใจ
ที่ฝังเข็มลงบนจุดฝังเข็มจนเกิดการเต๋อชี้ หลังจากนั้น 4. ปาก ถามถึงประวัติความเจ็บปวด ชีวิต
ใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าปล่อยกระแสไฟฟ้าที่คล้ายกับ ความเป็นอยู่ ประวัติครอบครัว อาการที่ผู้ป่วยรู้สึก
ร่างกายมนุษย์ออกมาอย่างอ่อน เป็นการกระตุ้น จาก ไม่สบาย
ทั้งเข็มและไฟฟ้าเพื่อเป็นการรักษาโรค จุดเด่นของ 5. มือ แพทย์จีนใช้มือในการสัมผัส และใช้นิ้ว
วิธีนี้คือเป็นการกระตุ้นแทนการกระตุ้นเข็มด้วยมือ จับชีพจรเพื่อตรวจอวัยวะภายใน ภาวะเลือดและ
คนเป็นระยะเวลานาน ช่วยประหยัดแรงและสามารถ พลังงานของร่างกาย และใช้มือกดสัมผัสเพื่อตรวจ
ควบคุมระดับการกระตุ้นได้ ทั้งนี้การกระตุ้นไฟฟ้า สอบต�าแหน่งเจ็บป่วยของร่างกายท�าให้ทราบถึงภาวะ
สามารถช่วยหยุดอาการปวด สงบจิตใจ กระตุ้นการ โรคของผู้ป่วย
ไหลเวียนของเลือด ปรับสมดุลความตึงของกล้ามเนื้อ ดังนั้น การตรวจวินิจฉัยของศาสตร์การแพทย์
ขอบเขตการรักษากว้างมาก นิยมใช้กับโรคอาการปวด แผนจีน เมื่อแพทย์จีนได้ตรวจร่างกาย ผู้ป่วยด้วย
ต่าง ๆ [18] วิธีการทั้งห้าแล้วจากนั้นจะวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่เป็น
6. การต้มยาจีน (herbal decoction instruc- สาเหตุของการเกิดโรค ระบบอวัยวะใดที่ผิดปกติบ้าง
tion) ยาจีนส่วนใหญ่จะใช้วิธีต้มรับประทาน การต้ม วางแผนและเลือกวิธีในการรักษา เช่น การฝังเข็ม กัว
ให้ถูกต้องตามวิธีการ การใช้อุปกรณ์และ ปริมาณของ ซา การครอบกระปุก การต้มยาจีน หรือใช้วิธีการรักษา
น�้าที่ใช้ในการต้มแต่ละครั้ง การปฏิบัติตามข้อก�าหนด ผสมผสานกัน
ต่าง ๆ ในการต้ม เช่น เวลาที่ใช้ในการต้ม การน�าตัวยา
บางตัวมาต้มก่อนหรือหลังการต้มตัวยาอื่น ๆ ตามที่ กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรแพทย์แผนจีน
ก�าหนดการบดเป็นผงหรือละลายก่อนน�าไปชงร่วมกับ 1. พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ
ตัวยาอื่น ๆ เป็นต้น มีความเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556 ก�าหนดให้การแพทย์แผนจีน
[19]
และการออกฤทธิ์ของยา เพื่อช่วยในการรักษาโรค เป็นสาขาหนึ่งของการประกอบโรคศิลปะ และก�าหนด
ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น นิยามของการแพทย์แผนจีนไว้ดังนี้ “การแพทย์แผน
จีน หมายความว่า การกระท�าต่อมนุษย์หรือมุ่งหมาย
กำรตรวจวินิจฉัยของศำสตร์กำรแพทย์แผนจีน จะกระท�า ต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยของศาสตร์การแพทย์แผนจีน โรค การบ�าบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและ
ใช้การตรวจด้วยประสาทสัมผัส ทั้ง 5 ของแพทย์ใน การฟื้นฟูสุขภาพโดยใช้ความรู้แบบแพทย์แผนจีน’’
การวินิจฉัยโรค ได้แก่ [20] 2. พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ.