Page 180 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 180
378 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
ต้องมีการฝึกปฏิบัติทางคลินิกจนกระทั่งเกิดความช�านิ จ�าแนกภาวะโรค จากข้อมูลอาการและอาการต่าง ๆ
ช�านาญ สามารถน�าเสนอแนวทางและวิธีการรักษาโรค ที่แสดงออกมา จากการตรวจร่วม 4 วิธี (ดู ดม ถาม
ที่เหมาะสมให้กับผู้ป่วยแต่ละรายได้ คล�า) โดยหลักการรักษาจะเน้นหาสาเหตุที่แท้จริงของ
ดังนั้นระบบการแพทย์แห่งยุคโลกาภิวัตน์ การ การเจ็บป่วยของอวัยวะนั้นพร้อมกับการรักษาอาการ
รักษาในปัจจุบันจึงควรเป็นการประสานการแพทย์ ของโรค และฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่สมดุล ซึ่งวิธีทั่วไป
แผนปัจจุบันเข้ากับการแพทย์ทางเลือกต่าง ๆ เช่น ที่ใช้รักษาคือ กัวซา การครอบกระปุก การใช้สมุนไพร
การแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน เพื่อความ จีน และการฝังเข็ม เป็นต้น ซึ่งผู้เขียนได้อภิปรายใน
สมบูรณ์รอบด้านในการรักษามากขึ้น แต่การรักษา ประเด็นต่อไป
ด้วยการแพทย์แผนจีนนั้นยังจ�าเป็นต้องเคารพและ
ธ�ารงไว้ซึ่งความเป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ แนวคิดแบบ เทคนิคและวิธีปฏิบัติเฉพำะทำงกำรแพทย์แผนจีน
องค์รวม การตรวจร่วมทั้ง 4 วิธี การรักษาตามการ ศูนย์การแพทย์ผสมผสานและสุขภาพองค์รวม
จ�าแนกภาวะโรค หากละเมิดแนวคิดและหลักการ แห่งชาติ (National center of complementary and
นี้ย่อมไม่สามารถเรียกว่าเป็นการแพทย์แผนจีนได้ integrative health: NCCIH) กล่าวว่า การแพทย์
เพราะความมีเอกลักษณ์อันโดดเด่นแตกต่างไปจาก แผนจีนนี้เป็นการแพทย์ทางเลือก ที่รักษาอาการได้
ศาสตร์อื่นเหล่านี้ท�าให้การแพทย์แผนจีนสืบเนื่องได้ หลายอย่าง ดังเช่น
ยาวนานมาจนปัจจุบัน อีกทั้งเป็นศาสตร์ที่มีจุดเด่น 1. กัวซา (Guasa) การรักษาด้วยวิธีกัวซา คือ
อยู่ที่หลักแนวคิด ความเป็นเหตุผล และประสบการณ์ การรักษาโดยการใช้วัสดุที่มีลักษณะขอบมนเรียบ
ในการดูแลสุขภาพประชาชนเป็นเวลายาวนาน มีการ เช่น ไม่ไผ่ อ่อน ช้อนกระเบื้องเคลือบ เหรียญ แก้ว
ผสมผสานวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์และ ผม ป่าน โดยการน�าอุปกรณ์ที่ใช้กัวซามาท�าการขูด
มานุษยวิทยาเข้าเป็นหนึ่งเดียวในการดูแลสุขภาพของ บริเวณผิวหนังของผู้ป่วยในทิศทางขึ้นลง เข้า-ออก
ประชาชน ตามแนวเส้นลมปราณและจุดฝังเข็ม การรักษาด้วย
จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การแพทย์แผน วิธีกัวซา สามารถช่วยในการกระจายเลือดและพลัง
จีนเป็นศาสตร์ที่มีเอกลักษณ์ส�าคัญ 2 ประการ คือ 1) ขับเหงื่อเพื่อแก้อาการภายนอก คลายเส้นเอ็นทะลวง
แนวคิดแบบองค์รวม หรือหลักการมองสุขภาพแบบ เส้นลมปราณ ปรับสมดุลของระบบอวัยวะภายใน
องค์รวม โดยสุขภาพของบุคคลเป็นศูนย์รวมของ กระตุ้นพลังเพื่อขับความชื้นส่วนที่เป็นของเสียออก
ทั้งหมด และมีความสัมพันธ์กับธรรมชาติอย่างใกล้ จากร่างกายเพื่อปรับการไหลเวียนของเลือดและพลัง
ชิดจนถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งจะเน้นหลัก ในร่างกายให้ดีขึ้น จากการวิจัยพบว่า ประสิทธิผล
การป้องกันโรคโดยการดูแลสุขภาพกายและจิตที่แข็ง ของการรักษาด้วยการกัวซาตามหลักการของการ
แรงและสมดุลกัน อีกทั้งจะต้องมีการดูแลสุขภาพ แพทย์แผนปัจจุบัน คือ การรักษาด้วยวิธีนี้มีผล
อย่างสม�่าเสมอ เช่น การออกก�าลังกายเป็นประจ�า เพื่อ ในการปรับระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ระบบ
สร้างความแข็งแรงป้องกันการลุกลามของโรคไปยัง ฮอร์โมน และระบบน�้าเหลือง มีผลการรักษาชัดเจนใน
อวัยวะอื่น ๆ ของร่างกาย และ 2) การรักษาตามการ การลดไข้แก้ปวด [15]