Page 187 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 187
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 385
Existence of Folk Healers in Chiang Rai Province
Ritichai Pimpa , Chanapat Tipkanpirome, Chin Khamkruang, Natchanun Thaibunrod,
*
Patchanipa Jumroenjitsakul, Sivaphorn Janted
School of Integrative Medicine, Mae Fah Luang University, Chiang Rai 57100, Thailand
Corresponding author: ritichai.pim@mfu.ac.th
*
Abstract
Indigenous (folk) medicine is the wisdom of health care that varies from region to region and has been
influenced by changes in society, economy, and culture. This study aimed to explore the existence of folk healers
in Chiang Sean district of Chiang Rai province. The qualitative study was conducted in three folk healers. Data
collected included personal demographics, information on the folk medical practice, perceived self-efficacy, out-
come expectations and perceived barriers and adaptation. The findings showed that all folk healers had over ten
years of treatment experience and specialized in a variety of disease groups, especially the musculoskeletal system
and had a role as a teacher to transfer knowledge as well. Perceived self-efficacy was related to successful mastery
experience. And outcome expectation was related to pride that the patient was healthy. Reduction in patients, eco-
nomic impacts, declining herbs availability due to deforestation and scarcity of disciples to conserve knowledge
were obstacles related to the existence of folk healers. All folk healers attempted to adapt, especially in the use of
technology to help with communication with patients and transportation of herbal medicines. Thus, stakeholders
should encourage public participation in forest conservation and encourage local healers to gain knowledge and
skills in using technology for retaining their roles in the ever-changing Thai society.
Key words: existence, folk healer in Chiang Rai province
บทน�ำและวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์รวม
[2]
การแพทย์พื้นบ้าน เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่า ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเชียงรายได้รับการ
และอยู่คู่กับมนุษย์มายาวนาน เกิดจากการเรียนรู้ สนับสนุนจากสังคมอย่างต่อเนื่อง เห็นได้ชัดใน
และถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น โดยถูกผสาน ปี พ.ศ. 2559 จังหวัดเชียงรายได้เป็นส่วนหนึ่งของ
เข้ากับสภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม โครงการจังหวัดต้นแบบการพัฒนาการแพทย์แผน
และความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น จนเกิดศาสตร์ที่เป็น ไทยและโครงการเมืองสมุนไพรน�าร่องของกระทรวง
เอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น จังหวัดเชียงรายเคย สาธารณสุข ประกอบกับแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วย
[1]
[3]
เป็นราชธานีที่ส�าคัญของอาณาจักรล้านนาอันยิ่งใหญ่ การพัฒนาสมุนไพร ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ที่ได้
ในอดีต มีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่เจริญรุ่งเรือง ให้ความส�าคัญกับการแพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก
เป็นเอกลักษณ์ หนึ่งในนั้นคือการแพทย์พื้นบ้าน รวมไปถึงการแพทย์พื้นบ้านด้วย อย่างไรก็ตามการ
ล้านนา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน แพทย์พื้นบ้านจะด�ารงอยู่ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจาก