Page 179 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 179

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  377




            ปรากฏออกมาของโรค อันได้มาจากการตรวจร่างกาย  การรักษา การฟื้นฟูสภาพ ร่างกายและการส่งเสริม
            ร่วมกันทั้ง 4 วิธี ได้แก่ การดู  หมายถึง การดูสีหน้า   สุขภาพ

            ดูลิ้น สังเกตอิริยาบถ การดม หมายถึง การดมกลิ่น     การแพทย์แผนจีนมองร่างกายมนุษย์ว่า เป็น
            หรือการฟังสียง ถาม หมายถึง การซักถาม การคล�า   องค์รวมที่ล้วนประกอบขึ้นจากสารจ�าเป็นพื้นฐาน
            หมายถึง การตรวจชีพจรหรือที่เรียกกันทั่วไปว่าการ  อาศัยการตรวจร่วมทั้ง 4 วิธี (ดู ดม ถาม คล�า) เพื่อ

            แมะ รวมถึงการกดเคาะคล�า จากนั้นน�าข้อมูลที่ได้มา  ค้นหาปัจจัยก่อโรค คุณลักษณะของโรค ต�าแหน่ง
            วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปและจ�าแนกแยกแยะแล้วลง  ของโรควิเคราะห์กลไกการเกิดโรค อวัยวะตันทั้ง
            ความเห็นวินิจฉัยว่าเป็นโรคอะไร และเป็นภาวะโรคใด   ห้าและอวัยวะกลวงทั้งหก เส้นลมปราณ และข้อต่อ

            การรักษาตามการจ�าแนกภาวะโรค ล้วนเป็นการน�าผล  ต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงของพลัง เลือดและสารน�้า
            ของการจ�าแนกภาวะโรคมาก�าหนดแนวทางและวิธีการ  ต่าง ๆ ในร่างกาย ท�าการแยกแยะความสัมพันธ์
            รักษา การเลือกใช้ต�ารับยา การเพิ่มลดตัวยาในต�ารับ   ระหว่างการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของพลังพื้นฐานของ

            หรือ เลือกการรักษาด้วยการฝังเข็ม หรือการรักษาด้วย  ร่างกายและปัจจัยก่อโรค จึงท�าการวินิจฉัยชื่อโรค
            การนวดทุยหนา หลักการของการแพทย์แผนจีน การ   แยกแยะภาวะโรค อาศัยหลักการรักษาตามการจ�าแนก

            รักษาตามการจ�าแนกภาวะโรคต้องยึดตามอาการที่  ภาวะโรคท�าการก�าหนด เลือกแนวการรักษาทั้งแปด
            แสดงออกมาในทางคลินิกเป็นหลักและต้องผ่านการ  คือ การขับเหงื่อ (ฮั่น) การท�าให้อาเจียน (ทู่) การท�าให้
            จ�าแนกภาวะโรคแล้วจึง ก�าหนดแนวทางรักษาด้วย  ถ่ายระบาย (เซี่ย) การปรับสภาพให้สอดประสานกัน

            ต�ารับและตัวยาซึ่งไม่ได้เป็นการรักษาหรือใช้ยาที่เพียง  (เหอ) การท�าให้อบอุ่น (เวิน) การขจัดความร้อน (ชิง)
            แค่ว่าเป็นโรคอะไร ดังนั้นจึงจัดได้ว่าเป็นแนวคิดแบบ  การบ�ารุง (ปู่) และการขจัดปัจจัยก่อโรคแบบค่อย

            องค์รวมอันเป็นวิธีการตรวจรักษาซึ่งเป็นเอกลักษณ์  เป็นค่อยไป (เซียว) แล้วจึงเลือกรูปแบบในการรักษา
            เฉพาะตัวของการแพทย์แผนจีน                   ต่าง ๆ ที่เหมาะสม เช่น การใช้ยาสมุนไพร การฝัง
                 การแพทย์แผนจีนอาศัยปรัชญาจีนโบราณ      เข็มและรมยา การนวดทุยหนา การเจาะปล่อยเลือด

            เช่น ทฤษฎีอิน-หยาง ทฤษฎีปัญจธาตุ และทฤษฎี   การกัวซา การใช้ชี่กงรักษา การใช้อาหารรักษา หรือ
            อวัยวะภายใน สารจ�าเป็น ชี่ เลือด ในร่างกาย มา  การใช้การออกก�าลังกายแบบต่าง ๆ รักษา เพื่อช่วย
            เป็นหลักทฤษฎีพื้นฐาน เป็นศาสตร์ที่เน้นทั้งหลัก  ให้ร่างกายฟื้นคืนสภาวะสมดุลของอินหยางซึ่งจะ

            ทฤษฎีและประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติจริง    ท�าให้ร่างกายกลับมาแข็งแรงเป็นปกติได้เอง อีกทั้ง
            ควบคู่กัน  ใช้มุมมองแบบพลวัตท�าการศึกษาด้าน  เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค โดยหากยังไม่เป็น
            สรีรวิทยาพยาธิวิทยาของร่างกายมนุษย์และความ  โรคให้ป้องกันไว้ก่อน หากเป็นโรคแล้วให้ป้องกัน

            สัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อค้นหาวิธี  การพัฒนาของโรค หากในผู้ป่วยที่เป็นโรคร้ายแรงจะ
            ป้องกันและรักษาโรคที่มีประสิทธิผล ทั้งท�าการศึกษา  สามารถชะลอการพัฒนาและลดความรุนแรงของโรค

            กลไกการท�างานของร่างกายมนุษย์เกี่ยวกับหลักการ  ลง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตที่ยังเหลือและเวลาที่ยัง
            เปลี่ยนแปลงไปมาของภาวะสุขภาพดีกับภาวะที่เป็น  เหลืออยู่ของผู้ป่วยให้มีความสุขสบายขึ้น ดังนั้นแพทย์
            โรค รวมถึงการป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค    แผนจีนทุกคนจึงจ�าเป็นต้องผ่านการศึกษาทฤษฎีและ
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184