Page 178 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 178
376 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
อากาศธาตุทั้ง 6 เป็นทฤษฎีวิเคราะห์ ผลกระทบทาง ปรัชญาโบราณ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยาและการเปลี่ยนแปลงของ และวิทยาศาสตร์สังคม ค่อย ๆ ก่อตัวขึ้นเป็นทฤษฎี
ภูมิอากาศที่มีต่อสุขภาพท�าให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บของ ทางการแพทย์ เมื่อมีทฤษฎีทางการแพทย์แผนจีน
ร่างกายมนุษย์ ปัญจธาตุทั้ง 5 ได้แก่ ธาตุ ไม้ ไฟ ดิน เกิดขึ้นย่อมย้อนกลับมาสู่การปฏิบัติรักษาจริงในทาง
ทองและน�้า ซึ่งเป็นการหมุนเวียนของฤดูกาล 5 ฤดู ใน คลินิก และประสบการณ์ทางคลินิกที่ได้จะน�ามาเติม
ประเทศจีน ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูร้อนมาก เต็มและพัฒนาทฤษฎีทางการแพทย์แผนจีนอย่างต่อ
ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ส่วนอากาศธาตุทั้ง 6 คือ เนื่อง ส่งต่อความรู้จากรุ่นสู่รุ่นผ่านการรวบรวมกลั่น
ปัจจัยของดิน ฟ้า อากาศ 6 ชนิด ตลอดทั้งปี ได้แก่ กรองสรุปยกระดับให้เป็นระบบ จนกลายเป็นทฤษฎี
ลม หนาว ร้อน ชื้น แห้งและไฟ ทฤษฎีปัญจธาตุยัง พื้นฐานให้แพทย์จีนรุ่นหลังได้ยึดถือเป็นบรรทัดฐาน
ใช้ข้อมูลทางดาราศาสตร์มาค�านวณการเปลี่ยนแปลง ในการปฏิบัติเรื่อยมา การแพทย์แผนจีนมีเอกลักษณ์
ของดินฟ้าอากาศและกฎเกณฑ์การเป็นโรคภัยไข้เจ็บ พื้นฐานที่ส�าคัญ 2 ประการ ได้แก่ [14]
ของมนุษย์ ซึ่งคุณสมบัติพิเศษของธาตุแต่ละธาตุใน 1. แนวคิดสุขภาพองค์รวม
ปัญจธาตุ มีดังนี้ การแพทย์แผนจีนให้ความส�าคัญกับการ
ธาตุไม้ หรือ ต้นไม้ หมายถึง การเจริญงอกงาม เป็นองค์รวมหนึ่งเดียวกันของอวัยวะและเนื้อเยื่อ
และการแผ่กระจาย ต่าง ๆ ของร่างกาย ตลอดจนความสัมพันธ์เป็นหนึ่ง
ธาตุไฟ หมายถึง ความร้อน และการเคลื่อนไหว เดียวกันกับธรรมชาติ โดยมองว่า ร่างกายมนุษย์
ลอยขึ้นข้างบน ประกอบขึ้นจากหน่วยต่าง ๆ ซึ่งในเชิงโครงสร้างไม่
ธาตุดิน หมายถึง การเกื้อกูลกัน การให้ก�าเนิด สามารถแยกออกจากกันได้ ในเชิงการท�าหน้าที่ต้อง
และในโบราณถือว่าธาตุดินจะเกื้อกูลธาตุ อีก 4 ธาตุ ท�างานประสานสอดคล้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน เมื่อ
ธาตุดินจึงเป็นมารดาแห่งสรรพสิ่ง เกิดโรคจึงส่งผลกระทบต่อกันและกัน ร่างกายมนุษย์
ธาตุโลหะหรือธาตุทอง หมายถึง ความสะอาด สัมพันธ์กับธรรมชาติอย่างแนบแน่น ดังนั้นการมีชีวิต
การเปลี่ยนแปลงไปมา และความเงียบสงัด ของมนุษย์ รวมไปถึงการเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงของ
ธาตุน�้า หมายถึง ความชุ่มฉ�่า การไหลลงสู่ที่ต�่า โรคต่าง ๆ ล้วนสัมพันธ์กับธรรมชาติอย่างแนบแน่น
และการเก็บสะสม ภายใต้หลักแนวคิด “ฟ้าและมนุษย์รวมเป็นหนึ่ง’’
นอกจากนี้การมองว่ากายกับจิตเป็นหนึ่งเดียวกัน
แนวคิดและหลักกำรของศำสตร์กำรแพทย์แผน ท�าให้ในการรักษาโรคต้องให้ความส�าคัญกับสภาพ
จีน จิตใจของผู้ป่วยด้วย
การแพทย์แผนจีน เป็นศาสตร์การแพทย์ที่ 2. การรักษาตามการจ�าแนกภาวะโรค
มีประวัติมายาวนานกว่า 5,000 ปี ซึ่งเกิดจากการ การรักษาตามการจ�าแนกภาวะโรค เป็นวิธี
สั่งสมประสบการณ์จริงในการต่อสู้อย่างต่อเนื่อง การตรวจและรักษาโรคอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
เพื่อด�ารงชีวิตท่ามกลางธรรมชาติและโรคภัยไข้เจ็บ ของการแพทย์แผนจีน การจ�าแนกภาวะโรค หมาย
ที่คอยเบียดเบียนของมนุษยชาติ ผสมผสานเข้ากับ ถึง การรวบรวมข้อมูลอาการและอาการแสดงต่าง ๆ ที่