Page 177 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 177

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  375




            พระราชกฤษฎีกาก�าหนดให้สาขาการแพทย์แผนจีน    กับการแพทย์สาขาอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพของ
            เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติ   ประชาชนไทย

            การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2552 อันมี
            ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และ  ทฤษฎีเกี่ยวกับกำรแพทย์แผนจีน
            เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ได้มีการตราพระราช      ทฤษฎีพื้นฐานการแพทย์แผนจีน เกิดจาก

            บัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556   การสรุปทฤษฎีเกี่ยวกับชีวิตของร่างกายมนุษย์และ
            ให้ยกเลิกพระราชกฤษฎีกาก�าหนดให้สาขาการแพทย์  กฎเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงของอาการโรค มีเนื้อหา
            แผนจีนเป็นสาขาประกอบโรคศิลปะตามพระราช       เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอิน-หยาง การเดินลมปราณ

            บัญญัติ การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2552   ลักษณะของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ตลอดจนทาง
            ในการก�าหนดสาขาการแพทย์แผนจีนตามกฎหมายดัง   เดินของเลือดและลมปราณ สาเหตุ การเกิดโรค อาการ
            กล่าว ได้ก�าหนดความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับ  โรค วิธีการวินิจฉัยโรค การแยกแยะวิเคราะห์ หลักการ

            ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา การแพทย์  รักษาโรค การป้องกันโรคและการบ�ารุงสุขภาพ เป็นต้น
            แผนจีนไว้ว่า ต้องเป็นผู้ส�าเร็จหลักสูตรปริญญาหรือ  ซึ่งประกอบด้วยทฤษฎีที่ส�าคัญ ดังนี้ [7]

            ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาสาขาการแพทย์แผน      1.  ทฤษฎีอิน-หยาง “อิน หยาง’’ เป็นธรรมชาติ
            จีนจากสถาบันการศึกษาที่คณะกรรมการวิชาชีพสาขา  ของภาวะคู่ตรงข้ามที่พึ่งพาอาศัยกันควบคุมซึ่งกันและ
            การแพทย์แผนจีนรับรองเท่านั้น                กันในอินมีหยาง ในหยางมีอิน” “ทุกสิ่งประกอบด้วย

                 ปัจจุบันมีผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์  ลมปราณที่มีการเปลี่ยนแปลง เคลื่อนไหวแสดงออก
            แผนจีนที่ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ  2 ด้าน ตรงข้ามกันเป็นอินและหยาง” ทฤษฎี อิน-

            โรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนจีน 1,656 ราย (ข้อมูล   หยาง เป็นปรัชญาโบราณของจีน เกิดจากการสังเกต
            ณ กันยายน พ.ศ. 2564) และมีสถาบันการศึกษาระดับ  ปรากฏการณ์ในโลกที่ตรงกันข้ามจนได้ข้อสรุป เป็น
            อุดมศึกษาในประเทศไทยเปิดการเรียนการสอนใน    ทฤษฎีอิน-หยาง และอาศัยการปรับสมดุลระหว่าง

            สาขาการแพทย์แผนจีน จ�านวน 9 แห่งประกอบด้วย   หยินกับหยางมาใช้อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสรรพ
            มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย  สิ่ง การแพทย์แผนโบราณของจีน ใช้อินกับหยางเพื่อ
            ราชภัฏจันทรเกษม วิทยาลัยนครราชสีมา มหาวิทยาลัย  อธิบายความสัมพันธ์ ทางกายวิภาคของร่างกาย ตลอด

            เชียงราย มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง   จนความสัมพันธ์ระหว่างชีวิตมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
            มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ     และสังคม เมื่อความสมดุลระหว่างอิน-หยาง ใน
            สวนสุนันทาและมหาวิทยาลัยรังสิต มีองค์กรควบคุม  ร่างกายเปลี่ยนแปลงจะท�าให้ร่างกายเกิดโรคภัยไข้

            การประกอบวิชาชีพ ได้แก่ คณะกรรมการการ       เจ็บขึ้น การแพทย์แผนจีนใช้หลักความสมดุลระหว่าง
            ประกอบโรคศิลปะ และมีคณะกรรมการวิชาชีพสาขา   อิน-หยาง เป็นพื้นฐานของการรักษาความเจ็บป่วยของ

            การแพทย์แผนจีนซึ่งควบคุมก�ากับมาตรฐาน การ   ร่างกายมนุษย์
            ประกอบโรคศิลปะของผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการ        2.  ทฤษฎีปัญจธาตุ ทฤษฎีปัญจธาตุ หรือ
            แพทย์แผนจีน และสร้างความร่วมมือทางวิชาชีพ   อากาศธาตุ หรือมักเรียกว่า ปัญจธาตุทั้ง 5 และ
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182