Page 181 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 181

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  379




                 2. การครอบกระปุก (cupping therapy)     เม็ดเลือดดีขึ้น ช่วยลดความตึงของหลอดเลือดและ
            เป็นวิธีการรักษาโดยใช้กระปุกมาลนไฟให้ร้อนเพื่อ  การเปลี่ยนแปลงการดูดซึมของเนื้อเยื่อ ท�าให้ระบบ

            ไล่อากาศออกแล้วครอบกระปุกลงบนผิวหนัง ซึ่ง   น�้าเหลืองไหลเวียนได้ดีขึ้น สามารถสร้างภูมิคุ้มกันที่
            จะมีแรงดูดจากสุญญากาศท�าให้เกิดเลือดคั่งขึ้น  ดีตลอดจนยังสามารถเพิ่มประสิทธิผลการรักษาโรค
            ในบริเวณนั้น อุปกรณ์ครอบจะติดแน่นกับบริเวณ  เรื้อรังได้อีกด้วย [16]

            ผิว และดึงกล้ามเนื้อ เส้นประสาท เส้นเลือด ที่อยู่     3. การฝังเข็ม (acupuncture) คือ เทคนิค
            ภายใต้บริเวณที่ครอบท�าให้เกิดการกระตุ้นระบบ  การรักษาที่ช่วยกระตุ้นอวัยวะของร่างกายด้วยการ
            ประสาทฮอร์โมนและท�าให้ระบบการไหลเวียนของ    ใช้เข็มเล็ก ๆ แทงผ่านผิวหนังตามจุดเฉพาะต่าง ๆ

            เลือดสมดุล ไม่ติดขัด ประสิทธิผลในการรักษา มีดังนี้    ที่มีกว่า 350 จุดทั่วร่างกาย เพื่อรักษาสมดุลภายใน
            1) การถูกกระตุ้นด้วยวิธีการครอบกระปุก วิธีการ  ร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ชี่ (Qi) ซึ่งประกอบไปด้วยพลังอิน
            ครอบกระปุก คือ การระบายอากาศออกท�าให้มีแรง  (Yin) และหยาง (Yang) ซึ่งตามหลักการแพทย์แผน

            ดันขอบกระปุกยึดติดกับผิวหนังจึงดึงเส้นประสาท   จีนแล้วร่างกายที่ไม่สมดุลเป็นสาเหตุของอาการป่วย
            กล้ามเนื้อ หลอดเลือดชั้นผิวหนัง ท�าให้มีผลกระทบ  ปวดเมื่อย หรือไม่สบาย การรักษาด้วยการฝังเข็มก็

            ต่อระบบในการหลั่งฮอร์โมน ปรับสมดุล การคลาย  สามารถท�าให้เลือดและลมปราณไหลเวียนดี พลังใน
            ตัวหดตัวของหลอดเลือดและการไหลเวียนของหลอด   ร่างกายกลับมาสมดุล
            เลือด และปรับเปลี่ยนระบบหมุนเวียนของเลือด ใน     4. การรมยา คือ การยืมพลังความร้อนของไฟ

            บริเวณนั้น 2) ผลจากแรงดัน แรงดันของการครอบ  มาอุ่นร่างกายของมนุษย์ โดยใช้ความร้อนกระตุ้นอุ่น
            กระปุกมีบทบาทท�าให้ผิวหนังบริเวณนั้นคั่งเลือด   บ�ารุง ผ่านจุดฝังเข็ม เส้นลมปราณ เพื่อให้บรรลุผลใน

            เส้นเลือดฝอยแตก เม็ดเลือดแดงแตก ฮีโมโกลบิน  การรักษา ป้องกันโรค และส่งเสริมสุขภาพ  โดยการ
            ถูกปล่อยออกสู่ระบบร่างกาย จึงเป็นการกระตุ้นที่ดี  รมยาสามารถท�าให้ร่างกายแข็งแรง ป้องกัน และรักษา
            ผ่านทางระบบประสาท ปรับสมดุลทั้งสองทิศทางกับ  โรค ในประเทศจีนมีประวัติความเป็นมาหลายพันปี

            การท�างานของเนื้อเยื่ออวัยวะในเวลาเดียวกัน กระตุ้น  ในการแพทย์แผนปัจจุบัน เห็นว่า การรมยาสามารถ
            การท�างานของเม็ดเลือดขาวท�าให้ไวต่อความรู้สึกของ  กระตุ้นเพิ่มระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ท�าให้การ
            การเปลี่ยนแปลงผิวหนังภายนอกแต่สามารถทนได้   ท�างานของอวัยวะ เมทาบอลิซึมดีท�าให้เพิ่มความแข็ง

            อีกทั้งเพิ่มความแข็งแรงของระบบภูมิคุ้มกันแรงดัน  แรงและระบบภูมิคุ้มกัน การป้องกันโรคของร่างกาย
            ที่มีมากท�าให้เหงื่อออก การท�างานของต่อมเหงื่อและ  มีความแข็งแรง ดังนั้นการรักษาด้วยการรมยาเป็น
            ต่อมไขมันได้รับการกระตุ้น ท�าให้เซลล์ผิวหนังชั้น  เวลานานท�าให้ร่างกายและจิตใจเต็มเปี่ยมด้วยก�าลัง

            ก�าพร้าถูกผลัดออก ท�าให้สารพิษในการร่างกาย ของ  ขับไล่โรคมีอายุยืน ช่วยปรับสมดุล สามารถท�าให้เม็ด
            เสียถูกขับออกมา 3) ความอุ่นร้อน บทบาทของความ  เลือดขาว ฮีโมโกบิน เม็ดเลือดแดง เกล็ดเลือดเพิ่ม

            อุ่นร้อนที่บริเวณครอบกระปุกท�าให้เส้นเลือดเกิดการ  ขึ้น คอเลสเตอรอลลดลง การตกตะกอนของเลือด
            ขยายตัว ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ทั้งยังทะลวง  ช้าลง ระยะการแข็งตัวของหลอดเลือดหดสั้นเข้าและ
            ผนังของหลอดเลือดและความสามารถในการท�าลาย    ความสามารถของระบบฮอร์โมนถูกปรับเปลี่ยน โดย
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186