Page 176 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 176
374 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
ก�าหนดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของทรัพยากรระหว่าง และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนไทย
ประเทศ เพื่อให้บุคคลสามารถเดินทางระหว่าง มาเป็นเวลายาวนานและคนไทยหันมาสนใจกันมาก
ประเทศ ได้สะดวกยิ่งขึ้น ความหมายที่สาม เป็นการ ขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งปัจจุบันนี้โรงพยาบาลหลายแห่ง
อธิบาย โลกาภิวัตน์เกี่ยวกับการท�าให้เป็นสากล และ ได้จัดตั้งหน่วยงานด้านการแพทย์แผนจีนไว้เป็นทาง
[12]
Reiser & Davies, 1944 ให้นิยามว่า “โลกาภิวัตน์’’ เลือกในการบริการ [13]
หมายถึง การท�าให้เป็นสากล (universalization) การแพทย์แผนจีนได้เข้าสู่ประเทศไทยโดยผ่าน
เพราะในอนาคตการรวมกันทางวัฒนธรรมของโลก การอพยพของคนจีนเข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิ
เป็นเรื่องที่กระจายไปทั่วโลกและเพื่อการแลกเปลี่ยน มาอย่างน้อยตั้งแต่สมัยสุโขทัย ต่อมาในสมัยกรุง
ประสบการณ์ รวมถึง การกระจายข้อมูลข่าวสารจาก ศรีอยุธยาได้มีการรวบรวมต�ารับยาที่ใช้ในวังหลวง
ประชากรในพื้นที่หนึ่งไปสู่ในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเมื่อ 400 ปีเศษที่
และโลกาภิวัตน์จะท�าให้เป็นตะวันตก (westerniza- ผ่านมา ซึ่งต่อมามีการตีพิมพ์เป็นเอกสารชื่อว่า ต�ารา
tion) หรือการท�าให้ทันสมัย (modernization) จาก พระโอสถพระนารายณ์ พบว่า มีต�ารับยาจีนปรากฏ
ที่กล่าวมาอาจสรุปได้ว่า โลกาภิวัตน์ หมายถึง โลกที่ อยู่ ซึ่งหลักฐานนี้แสดงให้เห็นว่า การแพทย์แผนจีน
ไร้พรมแดนหรือการท�าโลกให้เล็กลงด้วยเทคโนโลยี ได้มีบทบาทในราชส�านักในสมัยกรุงศรีอยุธยาและน่า
สารสนเทศ ท�าให้เกิดการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน จะมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนทั่วไปมา
สะดวกรวดเร็วและคล่องตัวมากขึ้นท�าให้โลกใบนี้เล็ก แต่โบราณ ในสมัยรัตนโกสินทร์มีการอพยพของชาว
ลง เกิดการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการเรียนรู้ จีนเข้าสู่ประเทศไทยมากขึ้น มีการก่อตั้งโรงพยาบาล
ซึ่งกันและกันโดยไม่มีขอบเขตจ�ากัดด้วยความเร็วใน เทียนฟ้ามูลนิธิ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกที่เปิดให้
เสี้ยววินาทีเท่านั้น บริการการแพทย์แผนจีนเมื่อปี พ.ศ. 2446 และได้มี
การรวมตัวกันของแพทย์จีนจัดตั้งเป็นสมาคม แพทย์
ประวัติควำมเป็นมำของกำรแพทย์แผนจีนใน จีนในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468
ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนถูก
จากข้อมูลและประจักษ์พยานส�าคัญ ท�าให้ จัดให้เป็นศาสตร์หรือความรู้จากต่างประเทศที่ได้
[3,10]
ทราบและเป็นที่เข้าใจว่า สังคมไทยก็เหมือนสังคมอื่น รับอนุญาตให้เข้ามาท�าการประกอบโรคศิลปะใน
ทั่วโลกที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยและ ประเทศไทย ตามมาตรา 31 แห่ง พระราชบัญญัติการ
ความเจ็บป่วยของประชาชนด้วยระบบการแพทย์แผน ประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 โดยมีการอนุญาตให้
ปัจจุบันเพียงระบบเดียวได้อย่างครอบคลุมทุกกลุ่ม ผู้ที่มีความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนจีนจากบรรพบุรุษ
อาการของโรค แต่ต้องอาศัยวิธีการที่หลากหลายจาก หรือจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยที่คณะกรรมการ
การแพทย์สาขาต่าง ๆ เช่น การแพทย์แผนไทย อัน การประกอบโรคศิลปะรับรอง เข้ารับการประเมินความ
เป็นภูมิปัญญาวิธีดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมของสังคม รู้และออกหนังสืออนุญาตให้ประกอบโรคศิลปะด้าน
ไทยจากอดีตที่มีการสั่งสมสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน การแพทย์แผนจีนชั่วคราว
ตลอดจนการแพทย์แผนจีน ซึ่งด�ารงอยู่ในสังคมไทย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 มีการตรา