Page 145 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 145
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 343
วิเคราะห์ข้อห้ามและข้อควรระวังต�ารับยาพอก และในผู้ที่เคยมีประวิติแพ้สมุนไพรมากที่สุด ร้อยละ
ทั้ง 2 สูตร ได้แก่ สูตรร้อน และสูตรเย็น จาก 24 100.00 รองลงมาคือ ผู้ที่แพ้แอลกอฮอล์ ร้อยละ 33.33
ต�ารับ พบว่า ข้อห้ามและข้อควรระวังในผู้ที่มีแผลเปิด และผู้ที่เป็นโรคผิวหนัง ร้อยละ 4.17 (ตารางที่ 5)
ตารางที่ 5 ข้อห้�มและข้อควรระวังตำ�รับย�พอกทั้ง 2 สูตร
ข้อห้ามและข้อควรระวัง จำานวนตำารับ (N = 24) ร้อยละ
มีแผลเปิด 24 100.00
เคยมีประวิติแพ้สมุนไพร 24 100.00
แพ้แอลกอฮอล์ 8 33.33
โรคผิวหนัง 1 4.17
อภิปรำยผล นี้การศึกษาของ Ozaki, et al, 1991 พบว่าไพลมีฤทธิ์
การส�ารวจต�ารับยาพอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อ ต้านการอักเสบและระงับความเจ็บปวดได้ดีเทียบ
เข่าเสื่อมในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นการศึกษาเชิงส�ารวจ เท่าแอสไพรินเนื่องจากมีสาร dimethoxyphenyl
(survey research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส�ารวจ butadiene (DMPBD) และสาร (E)–3-( 3,4-dime-
ต�ารับยาพอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อเข่าเสื่อมที่ใช้ใน thoxyphenyl) but -3-en-l-ol ที่สามารถยับยั้งการ
สถานบริการทุกระดับในเขตสุขภาพที่ 3 และวิเคราะห์ บวมได้ ในต�ารับยาพอกสูตรเย็น มีการใช้ ฟ้าทะลาย
[9]
ข้อมูลพื้นฐานต�ารับยาพอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อเข่า โจร มากที่สุด 4 ต�ารับ รองลงมาเป็นย่านาง ไพลและ
เสื่อมที่ใช้ในสถานบริการทุกระดับ จากการศึกษาและ ขมิ้นชัน 3 ต�ารับ ใช้สมุนไพรชนิดสดมากกว่าสมุนไพร
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับต�ารับยาพอกสมุนไพรส�าหรับ ชนิดแห้ง สรรพคุณหลัก คือ ลดการอักเสบ ลดความ
โรคข้อเข่าเสื่อม พบต�ารับยาพอกสมุนไพรจ�านวน 24 ร้อน และบรรเทาปวด สอดคล้องกับการศึกษาของ
ต�ารับ มีสมุนไพร 67 ชนิด 26 วงศ์ แบ่งเป็นต�ารับยา การะเกตุ, สุยะราช, ใจดี และคณะ, 2017 ได้วิจัย
พอกสูตรร้อน 19 ต�ารับ และต�ารับยาพอกสูตรเย็น เปรียบเทียบระดับความเจ็บปวดก่อนและหลังจาก
5 ต�ารับ แต่ละต�ารับประกอบด้วยตัวยาตั้งแต่ 3–20 การรักษาโคลนสมุนไพรพอกเย็นร่วมกับการนวดแผน
ชนิด ในต�ารับยาพอกสูตรร้อน มีการใช้ ขิง มากที่สุด ไทยในผู้สูงอายที่มีอาการปวดเข่า พบว่าอาการปวด
16 ต�ารับ รองลงมาเป็นไพล 10 ต�ารับ และมะกรูด เข่าลดลง คะแนนความปวดลดลง อย่างมีนัยส�าคัญ
9 ต�ารับ ใช้สมุนไพรชนิดแห้งมากกว่าสมุนไพรสด ทางสถิติ ซึ่งสรรพคุณยาจากการวิเคราะห์ข้อมูล
[10]
สรรพคุณหลักคือ กระจายเลือดลม บรรเทาอาการ พื้นฐานในแต่ละต�ารับตรงกับอาการแสดงของผู้ป่วย
ปวด และลดการอักเสบ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา โรคข้อเข่าเสื่อม และสมุนไพรที่ใช้ในต�ารับ สามารถหา
ของ อารียาและอรุณพร, 2014 พบว่า สมุนไพรกลุ่มที่ ซื้อจากร้านค้าสมุนไพร เก็บจากแหล่งธรรมชาติ และ
มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ได้แก่ ขิง และ ไพล นอกจาก ปลูกเอง ซึ่งในเขตสุขภาพที่ 3 มีกลุ่มเกษตรกรและ
[3]