Page 150 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 150

348 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           ระดับประเทศ ซึ่งจะเป็นมาตรฐานที่ด�าเนินการโดย  งานด้านวิชาการ เพื่อส่งเสริมการก�าหนดมาตรฐาน
           หน่วยงานของรัฐ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของต�ารา  และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง และช่วยพัฒนาความร่วม

           มาตรฐานยา (Pharmacopoeia) เพื่อเป็นเกณฑ์    มือระหว่างประเทศในด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์
           ควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์  เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ โดยในส่วนของงานด้าน
           จากสมุนไพรในประเทศนั้น ๆ กรณีที่มีการซื้อขาย  วิชาการ ประเทศไทยได้เข้าร่วมทั้งในฐานะสมาชิก

           วัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรระหว่าง  ประเภทร่วมท�างาน (Participating member;
           ประเทศ อาจเกิดปัญหาว่าไม่สามารถใช้เกณฑ์ข้อ  P-member) จ�านวน 89 คณะ และสมาชิกประเภท
           ก�าหนดมาตรฐานที่ระบุในต�ารามาตรฐานยาของ     สังเกตการณ์ (Observing member; O-member)

                                                                     [4]
           ประเทศใดประเทศหนึ่งได้ หน่วยงานผู้ประกาศ    จ�านวน 221 คณะ  ตัวอย่างรายชื่อคณะกรรมการ
           มาตรฐานระดับสากล เช่น องค์การระหว่างประเทศ  วิชาการและคณะอนุกรรมการวิชาการของ ISO ที่
           ว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization   ประเทศไทยเป็นสมาชิกภาพ (ตารางที่ 1)

           for standard: ISO) จึงได้จัดท�าเกณฑ์มาตรฐานกลาง     ปัจจุบันได้มีการประกาศมาตรฐานระดับสากล
           เพื่อเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ (International   ผ่านคณะกรรมการวิชาการด้านการแพทย์แผนจีน

           Standard) ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จัดท�าโดยความร่วม  ISO/TC 249  ไปแล้วทั้งสิ้น 77 เรื่อง และอยู่ระหว่าง
           มือของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญของประเทศสมาชิก และมี  ด�าเนินการ 34 เรื่อง โดยมีมาตรฐานสากลเกี่ยว
           กระบวนการในการขอข้อคิดเห็นและพิจารณาหาข้อ   กับวัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่

           ตกลงร่วมกันของประเทศสมาชิกก่อนที่จะสรุปเกณฑ์  ประกาศไปแล้วทั้งหมด 33 เรื่อง  การศึกษานี้จึง
                                                                                 [5]
           มาตรฐานเพื่อพิมพ์เผยแพร่ส�าหรับน�าไปใช้ต่อไป   มีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมรายชื่อมาตรฐานของ

                องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน   วัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่ผ่าน
           เป็นหน่วยงานที่เป็นองค์กรอิสระจัดตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ.   การจัดท�ามาตรฐานและมีการพิมพ์เผยแพร่แล้วตาม
           2490 มีประเทศสมาชิกเริ่มแรกจ�านวน 25 ประเทศ   ความเห็นของคณะกรรมการ ISO/TC 249 รวมถึง

           เพื่อด�าเนินการเกี่ยวกับการจัดท�ามาตรฐานระหว่าง  เปรียบเทียบเกณฑ์มาตรฐานของ ISO/TC 249 และ
           ประเทศ  โดยมีคณะท�างานวิชาการ (Technical com-  ต�ารามาตรฐานยา ส�าหรับเป็นข้อมูลในการควบคุม
           mittee) จ�านวน 67 คณะ เพื่อพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวข้อง  คุณภาพวัตถุดิบสมุนไพรในอุตสาหกรรมการผลิต

           กับสาขาความเชี่ยวชาญนั้น ในปัจจุบันมีประเทศ  ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและมาตรฐานของการวิเคราะห์
           สมาชิกจ�านวน 166 ประเทศ คณะท�างานวิชาการ    หัวข้อต่าง ๆ และน�าไปใช้เป็นแนวทางในการควบคุม
           จ�านวน 802 คณะ และมีการเผยแพร่มาตรฐานระหว่าง  คุณภาพวัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

                                       [3]
           ประเทศ แล้วจ�านวน 24,119 ฉบับ  ประเทศไทย    เพื่อยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความ
           เริ่มเป็นสมาชิกของ ISO  ตั้งแต่ พ.ศ. 2509 โดยมี  ต้องการของตลาดโลก เพิ่มขีดความสามารถในการ

           ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง  แข่งขันในระดับสากล และเพื่อเป็นข้อมูลส่งเสริมการ
           อุตสาหกรรม ท�าหน้าที่เป็นผู้แทนประเทศไทยเข้า  ส่งออก
           ร่วมด�าเนินงานกับ ISO ในส่วนงานด้านบริหาร และ
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155