Page 143 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 143

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  341




                 วิเคราะห์สรรพคุณของสมุนไพรในต�ารับพอก  นอกจากนี้การศึกษาของ Ozaki et al., 1991 พบว่า
            สูตรร้อน 5 ล�าดับแรก ได้แก่ กระจายเลือดลม บรรเทา  ไพลมีฤทธิ์ต้านการอักเสบและระงับความเจ็บปวดได้

            อาการปวด ลดการอักเสบ คลายกล้ามเนื้อ,เส้นเอ็น   ดีเทียบเท่าแอสไพรินเนื่องจากมีสาร dimethoxy-
            และขับลมในข้อเข่า คิดเป็นร้อยละ 29.06, 25.64,   phenyl butadiene (DMPBD) และสาร (E)–3-(3,4-
            23.93, 7.26, 2.99 ตามล�าดับ ซึ่งสอดคล้องกับการ  dimethoxyphenyl) but -3-en-l-ol ที่สามารถยับยั้ง

                                                                [9]
            ศึกษาของอารียาและอรุณพร, 2014 พบว่า สมุนไพร  การบวมได้  (ภาพที่ 2)
            กลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ได้แก่ ขิง และ ไพ ล[3]






















                                    ภาพที่ 2  สรรพคุณสมุนไพรในตำ�รับย�พอกสูตรร้อน



                 ต�ารับยาพอกสูตรเย็น 5 ต�ารับ วงศ์สมุนไพร 5   12.82, 5.13, 5.13 และ 2.56 ตามล�าดับ การตั้งต�ารับยา

            อันดับแรก ที่น�ามาประกอบต�ารับยา คือ Acantha-  พอกสูตรเย็นตามหลักเภสัชกรรมกรรมไทยมีการใช้
            ceae, Zingiberaceae, Cucurbitaceae, Meni-   ฟ้าทะลายโจรมากที่สุด 4 ต�ารับ รองลงมาเป็นย่านาง

            spermaceae และ Fabaceae คิดเป็นร้อยละ 15.38,   ไพล และขมิ้นชัน 3 ต�ารับ (ภาพที่ 3)




















                                    ภาพที่ 3  วงศ์สมุนไพรที่ใช้ตั้งตำ�รับย�พอกสูตรเย็น
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148