Page 138 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 138
336 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
เฉพาะโรค โดยมีการรักษาโรคข้อเสื่อมด้วยวิธีการ นิยำมศัพท์
ทางการแพทย์แผนไทย เช่น การพอกเข่า การเผายา โรคข้อเข่าเสื่อม ตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ด้วยต�ารับยาสมุนไพร ซึ่งต�ารับยาสมุนไพรที่ใช้พอก ออกเป็น 2 ประเภท คือ โรคจับโปงแห้ง (ข้อเข่าเสื่อม
เข่าเป็นต�ารับยาเฉพาะโรงพยาบาลมีการผสมยาด้วย ชนิดไม่บวม) และโรคจับโปงน�้า (ข้อเข่าเสื่อม บวม แดง
วิธีการต่าง ๆ เพื่อน�ามาใช้กับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มี ร้อนและมีน�้าในข้อเข่า) ทั้ง 2 ประเภท สามารถรักษา
[6]
ปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อม ดังนั้น กลุ่มงานการแพทย์ และบรรเทาอาการได้ด้วยยาพอกสมุนไพร ต�ารับยา
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในเขตสุขภาพที่ 3 พอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อเข่าเสื่อม ในเขตสุขภาพ
ภาคเหนือ 5 จังหวัด จึงร่วมส�ารวจต�ารับยาพอกใน ที่ 3 เป็นต�ารับยาเฉพาะโรงพยาบาล เฉพาะสูตร มีการ
โรคข้อเข่าเสื่อม ที่มีการใช้ในคลินิกเฉพาะโรคข้อเข่า ปรุงผสมยาด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อน�ามาใช้กับผู้ที่มี
เสื่อม ในเขตสุขภาพที่ 3 เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูล ปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อม ซึ่งท�าให้ต�ารับยาพอกสมุนไพร
ต�ารับยาพอกในโรคข้อเข่าเสื่อม น�ามาวิเคราะห์ข้อมูล มีหลายต�ารับ
แต่ละต�ารับ ให้เป็นมาตรฐานเป็นแนวทางให้แพทย์ ยาพอกสมุนไพร เป็นวิธีการรักษาทางการ
แผนไทยได้เลือกใช้ต�ารับยาพอกในโรคข้อเข่าเสื่อม แพทย์แผนไทย คือ การน�าสมุนไพรที่มีสรรพคุณ
ในการดูแลผู้สูงอายุและประชาชน ในเขตสุขภาพที่ 3 กระจายเลือดลมบริเวณข้อ เพิ่มการไหลเวียนของ
ได้อย่างปลอดภัย มีประสิทธิภาพและเป็นข้อมูลพื้น เลือด ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ลดอาการ
ฐานให้ แพทย์แผนไทยและสหวิชาชีพอื่น ๆ น�าไปต่อ บวม ซึ่งมีทั้งยาฤทธิ์ร้อนและยาฤทธิ์เย็น
[7]
ยอดการพัฒนาต�ารับยาพอกเข่าเฉพาะโรงพยาบาลต่อ การวิเคราะห์การตั้งต�ารับยาตามศาสตร์การ
ไป พัฒนาเป็นคู่มือและแนวทางเวชปฏิบัติการดูแล แพทย์แผนไทย ต�ารับยาไทยมักประกอบด้วย
ผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมที่มีการขยายผลเพื่อใช้ใน สมุนไพรหลายชนิด ซึ่งสมุนไพรแต่ละชนิดในต�ารับ
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 3 และพัฒนาต่อยอดเป็นคู่มือการ ท�าหน้าที่แตกต่างกัน แบ่งเป็นหน้าที่ในต�ารับได้เป็น
ปรุงยาพอกสมุนไพรส�าหรับผู้ป่วยเฉพาะราย ในเขต 4 ประเภท คือ
สุขภาพ 3 เพื่อเป็นนวัตกรรมต่อไป 1. ตัวยาหลักหรือตัวยาส�าคัญ คือสมุนไพรที่ใส่
ไปในต�ารับเพื่อท�าหน้าที่เป็นตัวยาแก้โรค หรือรักษา
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย อาการหลักของผู้ป่วย
1. ส�ารวจต�ารับยาพอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อ 2. ตัวยาช่วยหรือตัวยารอง คือสมุนไพรที่ใส่ลง
เข่าเสื่อมที่ใช้ในสถานบริการทุกระดับในเขตสุขภาพ ไปในต�ารับเพื่อท�าหน้าที่ช่วยปรับให้ตัวยาส�าคัญออก
ที่ 3 ฤทธิ์ได้ดียิ่งขึ้น หรือช่วยรักษาอาการโรคร่วมที่ผู้ป่วย
2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานต�ารับยาพอกสมุนไพร ก�าลังเป็นอยู่
ส�าหรับโรคข้อเข่าเสื่อมที่ใช้ในสถานบริการทุกระดับใน 3. ตัวยาประกอบ หรือตัวยาเสริม หรือตัวยา
เขตสุขภาพที่ 3 คุม คือสมุนไพรที่ใส่ลงไปในต�ารับเพื่อท�าหน้าที่ช่วย
ลดผลข้างเคียงจากตัวยาส�าคัญ หรือช่วยป้องกันโรค