Page 139 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 139

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  337




            แทรกซ้อน หรือช่วยเสริมให้ยาหลักมีสรรพคุณที่  เดือนพฤษภาคม–กันยายน 2560
            สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

                 4. ตัวยาแต่งรส แต่งกลิ่น แต่งสี คือตัวยา  ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
            สมุนไพรที่ใส่ลงไปในต�ารับเพื่อท�าหน้าที่แต่งรส แต่ง     ประชากรกลุ่มเป้าหมาย คือ สถานบริการทุก
            กลิ่น แต่งสี ให้มีลักษณะที่น่ารับประทานมากขึ้น ซึ่ง  ระดับที่มีคลินิกแพทย์แผนไทย มีการให้บริการคลินิก

                          [8]
            อาจมีหรือไม่มีก็ได้                         เฉพาะโรคข้อเข่าเสื่อม และใช้ต�ารับยาสมุนไพรพอก
                                                        เข่าในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 3 ภาคเหนือ 5 จังหวัด ได้แก่
            กรอบแนวคิดกำรวิจัย                          จังหวัดนครสวรรค์ พิจิตร ก�าแพงเพชร ชัยนาท และ

                                                        อุทัยธานี จ�านวน 23 แห่ง

                                                             การศึกษานี้ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
                                                        เจาะจง (purposive sampling) โดยพิจารณาจาก
                                                        การตัดสินใจของผู้วิจัยและผู้เข้าร่วมวิจัยโดยความ

                                                        สมัครใจ และลักษณะของกลุ่มตัวอย่างเป็นไปตาม
                                                        วัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยมีเกณฑ์การคัดเลือก

                                                        กลุ่มตัวอย่าง ดังนี้


                                                        เกณฑ์คัดเข้ำ (inclusion criteria)

                                                             1.  สถานบริการทุกระดับ ที่เปิดให้บริการคลินิก
                                                        แพทย์แผนไทย

                                                                2.  มีการรักษาในคลินิกเฉพาะโรคด้วยการพอก
                        ระเบียบวิธีศึกษำ                ยาสมุนไพรในโรคข้อเข่าเสื่อม

                 การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงส�ารวจ (sur-     3.  ยินดีและเต็มใจเปิดเผยข้อมูลต�ารับยา และ

            vey research) โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา  ลงชื่อเข้าร่วมโครงการวิจัย
            (descriptive analysis) ได้แก่ จ�านวน ร้อยละ และ

            ค่าความถี่ ของการใช้สมุนไพร ชื่อ การตั้งต�ารับยา   เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
            ตัวยาหลัก ตัวยารอง ตัวยาประกอบ สรรพคุณ ชนิด      เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบส�ารวจที่
            สมุนไพร แหล่งที่มา และข้อควรระวัง เพื่อส�ารวจต�ารับ  ผู้วิจัยออกแบบโดยอ้างอิงจากแบบส�ารวจต�ารับยา

            ยาพอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อเข่าเสื่อมที่ใช้ในสถาน  สมุนไพรกองการแพทย์พื้นบ้าน กรมการแพทย์แผน
            บริการทุกระดับในเขตสุขภาพที่ 3 และวิเคราะห์ข้อมูล  ไทยและการแพทย์ทางเลือก แบ่งออกเป็น 6 หมวด
            พื้นฐานต�ารับยาพอกสมุนไพรส�าหรับโรคข้อเข่าเสื่อมที่  ได้แก่

            ใช้ในสถานบริการทุกระดับในเขตสุขภาพที่ 3 ตั้งแต่      หมวดที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของต�ารับสมุนไพรพอก
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144