Page 137 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 137

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  335




                     บทน�ำและวัตถุประสงค์               จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า ฤทธิ์การต้านการ

                 สังคมไทย ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรผู้สูง  อักเสบของสมุนไพร 12 ชนิด ได้แก่ พลับพลึง ผัก
            อายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 7 ล้าน  เสี้ยนผี มะค�าไก่ ดีปลี พริกไทย เจตมูลเพลิง ข่า ว่าน
            คน หรือร้อยละ 10.7  ในปี 2550 เป็น 7.5 ล้านคน หรือ  นางค�า ว่านร่อนทอง ไพล ขิง และกระทือ มีฤทธิ์ต้าน

            ร้อยละ 11.7  ในปี 2553 และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 14.5   การอักเสบและสามารถยับยั้งการเสื่อมของกระดูก
                                                            [3]
            ล้านคน หรือร้อยละ 20 ในปี 2568 ในขณะเดียวกัน  อ่อน  ด้านประสิทธิผลและความปลอดภัยของสาร
            มีแนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ล�าพังกับคู่  สกัดขิงนาโนลดอาการปวดในผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อม
            สมรสเพิ่มมากขึ้น โดยผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวเพิ่มจาก   พบว่า สารสกัดขิงนาโน มีประสิทธิผลในการลดปวด
            ร้อยละ 3.6 ในปี 2537 เป็น 7.6 ในปี 2550 ซึ่งมีผล  และลดอาการข้อเข่าเสื่อม คุณภาพชีวิตดีขึ้น ในการ

            ต่อการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อายุ  รักษา 12 สัปดาห์ โดยผลการรักษาไม่แตกต่างจากการ
            ยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง   ใช้ไดโคลฟีแนคเจล และไม่พบอาการไม่พึงประสงค์
                                                                      [4]
            เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือไขมันในเลือด  หลังจากการรักษา  และฤทธิ์การต้านการอักเสบของ
            สูง มีจ�านวนเพิ่มมากขึ้น รักษาไม่หาย มีภาวะการ   ต�ารับยารักษาโรคจับโปงแห้งเข่า (โรคข้อเข่าเสื่อม) และ
            พึ่งพิงต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและการดูแล  การทดลองทางคลินิกในอาสาสมัครที่มีสุขภาพดี พบ

            ระยะยาว ผู้สูงอายุจ�านวนมากมีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ส่ง  ว่า ในระดับหลอดทดลองสารสกัดต�ารับยาจับโปงแห้ง
            ผลต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน               เข่าที่สกัดด้วย 95% เอทานอล มีฤทธิ์ในการต้านการ
                                    [1]
                 โรคข้อเข่าเสื่อม (osteoarthritis of knee)   อักเสบผ่านกลไกการยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์

            การแพทย์แผนไทยเรียกว่า โรคลมจับโปง เป็นโรค  ยับยั้งเอนไซม์ COX-2 และ TNF-a ได้ดีที่สุด และ
            ในตระกูลลมชนิดหนึ่งที่เกิดจากอากาศ และน�้า แบ่ง  การศึกษาในหนูแรทที่ได้รับการป้อนสารสกัดต�ารับ
            ออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ลมจับโปงน�้า ลักษณะอาการ  ยาจับโปงแห้งเข่าที่สกัดด้วย 95% เอทานอลในขนาด

            ปวดมาก บวม แดง มีความร้อนขึ้นเสมอ และมีน�้าใน  300 มก./กก. จะสามารถลดการอักเสบได้ในชั่วโมง
            ข้อ สามารถท�าให้เป็นไข้ได้ 2. ลมจับโปงแห้ง ลักษณะ  ที่ 1-3 ส่วนการทดลองฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยใช้

            อาการบวม มีความร้อนไม่มากนัก บางครั้งมีแดงเล็ก  ModelRat ear edema พบว่าครีมที่ประกอบด้วย
            น้อย มีสภาวะข้อเข่าติด ขาโก่ง สะบ้าเจ้า และมีน�้าใน  1% ของสารสกัดต�ารับยาจับโปงแห้งเข่าด้วย 95%
            ข้อน้อย ซึ่งแนวทางการดูแลรักษา ป้องกัน และฟื้นฟู  เอทานอลสามารถยับยั้งการอักเสบได้ในชั่วโมงที่ 3

            โรคลมจับโปงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยมีหลาย   เทียบเท่ากับยาไดโคลฟีแนค [5]
            วิธี เช่น การนวด การประคบสมุนไพร การรับประทาน     กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกมี

            ยาสมุนไพร และการพอกยาสมุนไพร โดยวิธีการพอก  นโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา
            ยาสมุนไพรท�าเพื่อดูดพิษตามข้อต่าง ๆ แบ่งออกเป็น  ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการแพทย์
            ยาพอกสูตรร้อน และยาพอกสูตรเย็น เป็นอีกวิธีหนึ่ง  แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน โดยจัดให้มีบริการ

            ที่แพทย์แผนไทยนิยมใช้ในการรักษาโรคที่เกี่ยวกับ  การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแบบครบ
                            [2]
            กระดูกและกล้ามเนื้อ                         วงจรในโรงพยาบาลของรัฐ เพื่อรักษาโรคทั่วไป และ
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142