Page 132 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 132

330 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




                3.  มุมมองของผู้ปลูกในระบบ และผู้ปลูกนอก  ป้องกันการใช้กัญชา โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
                                                                                             [21]
           ระบบต่อนโยบายกัญชาเสรีทางการแพทย์           รายงานว่า กัญชาท�าให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวจาก

                ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้ง 2 กลุ่มมีมุมมองว่านโยบาย  การเสพติดกัญชาในกลุ่มวัยรุ่น และสร้างปัญหา
           มีเป้าหมายเพื่อการใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ และ  อาชญากรรมภายในชุมชน
           พัฒนาเศรษกิจระดับชุมชน สอดคล้องผลการวิจัย       มุมมองต่อระบบวัดผล และมาตรการให้คุณให้

           ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการใช้กัญชาในการ  โทษ พบว่า  การรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้องปฏิบัติ
                                              [24]
           รักษาโรคของประชาชนในจังหวัดพิษณุโลก  พบ     ตามระเบียบของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อป้องกันการ
           ว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้ และทัศนคติการใช้  ท�าผิดกฎหมาย และไม่ควรก�าหนดระเบียบเพิ่ม

           ประโยชน์จากกัญชาเพื่อการรักษาโรค คิดเป็นค่าเฉลี่ย   แสดงให้เห็นว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้ง 2 กลุ่มไม่ให้ความ
           5.55 และ 3.85 ตามล�าดับ และผลการวิจัยทุนทาง  ส�าคัญกับประเด็นดังกล่าว อธิบายได้ว่า ผู้ให้ข้อมูล
           สังคมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ในการ  หลักกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับอนุญาตปลูกกัญชา

           ใช้กัญชาทางการแพทย์ของอาสาสมัครสาธารณสุข    เป็นกลุ่มที่เริ่มจัดตั้ง และกลุ่มเกษตรกรที่ต้องการ
           ประจ�าหมู่บ้าน จังหวัดขอนแก่น  พบว่า การได้รับ  รวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อปลูกกัญชา เป็นกลุ่มที่
                                    [25]
           ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกัญชามีความสัมพันธ์กับการ  ไม่มีประสบการณ์เข้าร่วมเป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน
           ใช้กัญชาทางการแพทย์                         อย่างไรก็ตามการวิจัยเรื่อง ปัจจัยแห่งความส�าเร็จของ
                มุมมองต่อการก�าหนดภารกิจและมอบหมาย     กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์

           งาน พบว่า การรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้องก�าหนด  ชุมชน  ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับผู้ให้ข้อมูลหลัก
                                                            [26]
           โครงสร้างการบริหารกลุ่ม และก�าหนดภาระงานให้  ทั้ง 2 กลุ่มว่า วิสาหกิจชุมชนที่ได้รับรองมาตรฐาน

           ครอบคลุมกับงาน เช่น ประธานกลุ่ม ฝ่ายควบคุม  ผลิตภัณฑ์ชุมชนการบริหารกลุ่มต้องก�าหนดกฎ
           คุณภาพ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ การคัดเลือกสมาชิกที่  ระเบียบ ความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร การ
           มีทักษะให้สอดคล้องกับภาระงาน และสมาชิกต้องไว้  วางแผนการติดตามงานที่ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์

           วางใจกัน                                    ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการบริหารของ
                มุมมองต่อการก�าหนดมาตรฐานการปฏิบัติ    กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในอนาคต
           งาน พบว่า การรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนต้อง

           ปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขอย่าง                   ข้อสรุป
           เคร่งครัด แสดงให้เห็นว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความรับ     ปี พ.ศ. 2562-2565 นโยบายกัญชาเสรีทางการ
           ผิดชอบ เข้าใจ ตระหนักถึงโทษภัยของการใช้กัญชาที่  แพทย์ได้สร้างโอกาสให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาจาก

           ปราศจากการควบคุม และควรอยู่ในการควบคุมของ   แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และสร้างโอกาสให้กลุ่มวิสาหกิจ
           รัฐ สอดคล้องกับงานวิจัยนโยบายกัญชาเสรีในฐานะ  ชุมชนปลูกกัญชาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่กัญชา

           พืชทางการแพทย์  พบว่า นโยบายกัญชามีแนวโน้ม  ไม่ใช่พืชทองค�าสีเขียวของเกษตรกรทุกคน เกษตรกร
                        [23]
           ให้กลุ่มวัยรุ่นและประชาชนเริ่มทดลองลองใช้กัญชา  ต้องมีความรู้ เงินทุน และบริหารกลุ่มอย่างเป็นมือ
           มากขึ้น และสอดคล้องกับผลงานวิจัยแนวทางการ   อาชีพ ส�าหรับมุมมองการขับเคลื่อนนโยบายกัญชา
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137