Page 110 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 110

308 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           สมุนไพรที่มีรสร้อน เช่น ขิงแห้ง เทียนด�า ลูกจันทน์   พบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ได้ จึงควรมีการศึกษาที่ท�า
           และดีปลี กว่าร้อยละ 53.85 จึงอาจท�าให้เกิดเหตุการณ์  ในระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แน่ชัดและ

           ไม่พึงประสงค์ ได้แก่ แผลร้อนใน ผื่นแดงจุดเล็กที่  เป็นประโยชน์ในการพิจารณาสั่งจ่ายยาต่อไป
           เป็นลักษณะผื่นร้อน อาการร้อนวูบวาบ โดยเฉพาะ     ด้านคุณภาพชีวิต พบว่าคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
           อาการระคายเคืองทางเดินอาหารซึ่งเป็นเหตุการณ์ไม่  ดีขึ้นหลังได้รับการรักษา โดยค่าอรรถประโยชน์

           พึงประสงค์ที่พบบ่อยที่สุด อาจเนื่องมาจากในต�ารับ  เฉลี่ยก่อนเริ่มการรักษาที่มีค่า 0.946 ± 0.114 เพิ่ม
           มีพริกไทยในปริมาณมากโดยมีการศึกษาก่อนหน้าที่  ขึ้นเป็น 0.970 ± 0.093 และ 0.975 ± 0.053 ใน
           แสดงให้เห็นว่าพริกไทยอาจท�าให้เกิดการบาดเจ็บที่  เดือนที่ 1 และ 3 ตามล�าดับจากการศึกษาของณัชชา

                                  [16]
           เยื่อเมือกในกระเพาะอาหารได้  ส่วนอาการวิงเวียน  เต็งเติมวงศ์  พบว่าคะแนนอรรถประโยชน์ คะแนน
                                                                [12]
           หรือปวดศีรษะ ปากแห้งคอแห้ง อาจเกิดจากฤทธิ์  ด้านสภาวะสุขภาพทางตรง และผลรวมคะแนนคุณภาพ
           ของกัญชาซึ่งมีรายงานมาก่อนหน้านี้ [10,17-18]  โดยการ  การนอนหลับของผู้ป่วยก่อนและหลังการรักษาเพิ่ม

           จัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์มีทั้งการหยุดใช้ยา   ขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) นอกจากนี้
           การลดขนาดยา การใช้ยาอื่นร่วมเพื่อบรรเทาอาการ   ผลการเปลี่ยนแปลงอาการด้านอื่น ได้แก่ อาการปวด

           และการเปลี่ยนวิธีการใช้ยา ผู้ป่วยบางรายเกิดอาการ  เมื่อย ความอยากอาหาร อาการเหนื่อยง่าย และอาการ
           ไม่พึงประสงค์ลดลง สามารถทนต่อยาได้มากขึ้นเมื่อ  ชาของผู้ป่วยให้ผลที่ดีขึ้นอีกด้วย สอดคล้องกับการ
           มีการลดขนาดยาและการเปลี่ยนวิธีการใช้ยา เช่น   ศึกษาของ ศศิพงค์ ทิพย์รัชดาพรและคณะ  ที่พบว่า
                                                                                       [13]
           การเปลี่ยนจากรับประทานก่อนนอน เป็นรับประทาน  คะแนนอรรถประโยชน์และคะแนนด้านสภาวะสุขภาพ
           หลังอาหารเย็น และการเปลี่ยนน�้ากระสายยาตามวิธี  เพิ่มขึ้นจาก 0.821 ± 0.19 และ 83.43 ± 14.07 เป็น

           การใช้ดั้งเดิมในคัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณคือ น�้า  0.903 ± 0.11 และ 89.27 ± 11.45 คะแนนหลังใช้ต�า
           ผึ้งปั้นกับผงยาเป็นลูกกลอน ส่วนเหตุการณ์ไม่พึง  รับยาศุขไสยาศน์ครบ 4 สัปดาห์อย่างมีนัยส�าคัญทาง
           ประสงค์ที่พบรองลงมาคือ อาการวิงเวียนหรือปวด  สถิติ (p < 0.05) นอกจากนี้ คะแนนคุณภาพการนอน

           ศีรษะ แพทย์แผนไทยที่เป็นผู้สั่งใช้ยามักจะท�าการ  หลับเฉลี่ยเปรียบเทียบก่อนและหลังรับประทานต�ารับ
           จ่ายยาแผนไทยที่ช่วยบรรเทาอาการดังกล่าวร่วมด้วย   ยาศุขไสยาศน์ลดลงอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติอีกด้วย
           ได้แก่ ยาหอมเทพจิตร และอาการร้อนวูบวาบ มีการ  การศึกษานี้ให้ผลที่สอดคล้องกัน โดยพบว่าคุณภาพ

           สั่งจ่ายยาบัวบกลดความร้อนในร่างกาย เหตุการณ์  ชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้นหลังได้รับการรักษาในเดือนที่ 1
           ไม่พึงประสงค์ที่พบในการศึกษานี้มีความสอดคล้อง  และ 3 โดยค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัย
           กับงานวิจัยก่อนหน้าที่เก็บข้อมูลในช่วงระยะเวลา 4-6   ส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) เมื่อท�าการวิเคราะห์แยก

           สัปดาห์ของการใช้ยา พบอาการระคายเคืองทางเดิน  กลุ่มผู้ป่วยตามข้อบ่งใช้ พบว่าค่าอรรถประโยชน์ใน
           อาหาร อาการวิงเวียนศีรษะ อาการปากแห้งคอแห้ง  กลุ่มผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยอาการนอนไม่หลับ

           เช่นเดียวกัน [12-13]  โดยในการศึกษานี้เก็บข้อมูลผู้ป่วย  ก่อนเริ่มการรักษาและหลังการรักษาในเดือนที่ 1
           ที่ใช้ยาต่อเนื่องนาน 3 เดือนแสดงให้เห็นว่าแม้ผู้ป่วย  และ 3 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
           จะใช้ยามาเป็นระยะเวลานานกว่า 3 เดือนก็ยังมีโอกาส  (p < 0.001) ในขณะที่กลุ่มผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วย
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115