Page 107 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 107
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 305
ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบคะแนนอรรถประโยชน์ก่อนการรักษาและหลังการรักษา 1 เดือนและ 3 เดือน
Mean difference
คะแนนอรรถประโยชน์ N p value
(95%Cl)
ก่อนการรักษา-หลังการรักษา 1 เดือน 128 0.02 (0.01-0.02) < 0.001*
ก่อนการรักษา-หลังการรักษา 3 เดือน 82 0.04 (0.01-0.07) < 0.001*
หลังการรักษา 1 เดือน-หลังการรักษา 3 เดือน 72 0.01 (-0.01-0.04) 0.775
หมายเหตุ: ทดสอบโดยสถิติ Wilcoxon matched-pairs signed-rank test
*มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ภาพที่ 1 กราฟแสดงค่าเฉลี่ยอรรถประโยชน์ก่อนการรักษาและหลังการรักษาในเดือนที่ 1 และ 3 แบ่งตามข้อบ่งใช้
0.01-0.52) (ตารางที่ 8) อภิปรำยผล
จากผู้ป่วยที่ยุติการรักษาเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ จากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 138
ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด 16 คน (ร้อยละ 11.59) เมื่อ คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีโรคประจ�าตัว และมีอายุ
ท�าการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยุติ มากกว่า 60 ปี ขนาดยาเริ่มต้นที่มักมีการสั่งใช้คือ 1
การรักษาเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ไม่ กรัมต่อวัน ส่วนขนาดพยุงอยู่ในช่วง 0.5-4.0 กรัมต่อ
พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ วัน ผู้ป่วยที่มารับการรักษาส่วนใหญ่เคยใช้กัญชาทั้ง
(ตารางที่ 9) ในรูปแบบยาและไม่ใช่ยามาก่อน และมีผู้ป่วยบางส่วน