Page 109 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 109

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  307




            ที่ยังคงใช้ยาที่มีส่วนผสมของกัญชาอื่นร่วม โดยยาที่มี  ปี ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาคือ 0.5 กรัม วันละ 1 ครั้ง
            ส่วนผสมของกัญชาที่มีการใช้ร่วมกับต�ารับยาศุขไส-   ก่อนนอน ระยะเวลาที่ใช้ยาเฉลี่ย 4.12 ±  2.33 สัปดาห์

            ยาศน์ส่วนใหญ่ คือ น�้ามันกัญชาต�ารับหมอเดชาซึ่ง  ท�าการเก็บข้อมูลการนอนหลับโดยใช้แบบประเมิน
            เป็นสารสกัดกัญชาในน�้ามันมะพร้าวที่มีความเข้มข้น  คุณภาพการนอนหลับ Pittsburgh Sleep Quality
            ร้อยละ 10 ของน�้าหนักกัญชาแห้ง มีสรรพคุณช่วยใน  Index (PSQI) ฉบับภาษาไทย ข้อมูลคุณภาพชีวิต และ

            การนอนหลับเช่นเดียวกัน การสั่งใช้ยาควบคู่กันจะ  อาการไม่พึงประสงค์ ส่วนการศึกษาของ ศศิพงค์
                                                                          [13]
            ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของแพทย์แผนไทยผู้สั่งใช้ยาและ  ทิพย์รัชดาพรและคณะ  ที่ท�าการศึกษาประโยชน์
            อยู่ในความดูแลของสหวิชาชีพ ผู้ป่วยจะได้รับแจ้งให้  และความปลอดภัยของต�ารับยาศุขไสยาศน์ในผู้ป่วย

            หยุดใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาอื่นทุกประเภทเพื่อป้องกัน  ที่มีภาวะนอนไม่หลับจ�านวน 60 คน โดยเก็บข้อมูล
            การใช้กัญชาเกินขนาด รูปแบบการสั่งจ่ายยาในการ  ไปข้างหน้า ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาคือ 1-2 กรัม
            ศึกษานี้สอดคล้องกับค�าแนะน�าการใช้กัญชาทางการ  วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ ท�าการ

            แพทย์แผนไทยของกรมการแพทย์แผนไทยและการ       เก็บข้อมูลด้านคุณภาพการนอนหลับข้อมูลคุณภาพ
                         [15]
            แพทย์ทางเลือก  ที่แนะน�าให้รับประทานครั้งละ 2   ชีวิต และอาการไม่พึงประสงค์เช่นเดียวกันโดยท�าการ
            กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน โดยในการศึกษานี้พบ  ติดตามผลต่อเนื่องทุกสัปดาห์ ในการศึกษานี้มีความ
            ว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับวันละ 1 ครั้ง และขนาดยา  แตกต่างจากการศึกษาก่อนหน้าเนื่องจากเป็นการเก็บ
            พยุงส่วนใหญ่ที่มีการใช้ คือ 2 กรัมต่อวัน อย่างไร  ข้อมูลในผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยต�ารับยา

            ก็ตามผู้ป่วยกว่าร้อยละ 52.17 ในการศึกษานี้เป็น   ศุขไสยาศน์ซึ่งจะมีข้อบ่งใช้ที่แตกต่างกัน ได้แก่ อาการ
            ผู้ป่วยสูงอายุ จึงอาจมีความเสี่ยงในการเกิดเหตุการณ์  นอนไม่หลับ อาการปวดศีรษะ อาการเบื่ออาหาร

            ไม่พึงประสงค์ โดยเฉพาะอาการระคายเคืองทางเดิน  อาการชา และโรคพาร์กินสัน ท�าให้รูปแบบการสั่งใช้
            อาหารได้ค่อนข้างมาก แพทย์แผนไทยผู้สั่งใช้จึงเริ่ม  ยาแตกต่างกันตามข้อบ่งใช้และดุลพินิจของแพทย์
            ยาในขนาดต�่าก่อนแล้วจึงเพิ่มขนาดยาขึ้น หรืออาจ  แผนไทยผู้ท�าการรักษา แม้จะมีแนวทางในการสั่งใช้

            พิจารณาการใช้ยาที่มีส่วนผสมของกัญชาตัวอื่นร่วม  ยา แต่ไม่มีข้อบังคับหรือข้อก�าหนดที่ชัดเจนของขนาด
            เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา ท�าให้การสั่งใช้ยา  ยาเริ่มต้นและขนาดยาสูงสุดของการใช้ยา มีการนัด
            ที่ขนาดพยุงในผู้ป่วยบางส่วนมีการสั่งใช้ในขนาดต�่า  ผู้ป่วยเพื่อติดตามการรักษาทุก 2-4 สัปดาห์และท�าการ

            กว่าที่แนะน�า                               ปรับเปลี่ยนรูปแบบการสั่งใช้ยาตามการตอบสนอง
                 การศึกษาที่มีมาก่อนหน้าเป็นการศึกษาเฉพาะ  และสภาวะร่างกายของผู้ป่วย
            ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับ การศึกษา      ด้านความปลอดภัย การศึกษานี้พบเหตุการณ์

            ประสิทธิผลและความปลอดภัยของต�ารับยาศุขไสยาศน์   ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด 31 เหตุการณ์จากผู้ป่วย 23
                                                  [12]
            ในโรคนอนไม่หลับเรื้อรังของณัชชา เต็งเติมวงศ์    คน มีผู้ป่วยยุติการรักษาเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไม่
            ที่ท�าการเก็บข้อมูลย้อนหลังจากการสืบค้นเวชระเบียน  พึงประสงค์จ�านวน 16 คน โดยผู้ป่วยบางรายยังคง
            ผู้ป่วยที่มารักษาที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย   ต้องการใช้ยาต่อแม้จะเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
            พบว่าในผู้ป่วยทั้งหมด 25 ราย มีอายุเฉลี่ย 56 ± 13.08   ต�ารับยาศุขไสยาศน์มีส่วนผสมของพริกไทยและ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114