Page 203 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 203
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 183
บทนำ�และวัตถุประสงค์ อนามัยโลกก�าหนดไว้ที่ร้อยละ 35
ภาวะโภชนาการของเด็กเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็น สภาวะโภชนาการที่มีผลต่อการสร้างน�้านม การ
ถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก เมื่อเด็กได้รับอาหาร ผลิตน�้านมแม่นั้นใช้หลักการเดียวกับอุปสงค์อุปทาน
ที่เหมาะสมอย่างเพียงพอตามช่วงวัย ไม่เจ็บป่วย อุปสงค์เกิดขึ้นจากความสามารถแต่ละครั้งที่ลูกดูด
บ่อย ๆ และได้รับการดูแลอย่างดี เด็กจะมีการเจริญ นมจากเต้าได้หมด ซึ่งหากน�้านมที่ผลิตในแต่ละครั้ง
เติบโตอย่างสมส่วน มีการพัฒนาโครงสร้างและการ หมดจากเต้าก็จะท�าให้เกิดอุปทานหรือการผลิตน�้านม
ท�างานของสมอง ซึ่งจะช่วยกระบวนการเรียนรู้และ ขึ้นมาใหม่ส่วนสาเหตุของการผลิตน�้านมได้น้อยส่วน
อารมณ์ได้เป็นอย่างดี พร้อมที่จะพัฒนาต่อไปจนเป็น ใหญ่ก็เกิดจากการที่ลูกไม่สามารถท�าให้นมที่ผลิตออก
ผู้ใหญ่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นรากฐานเริ่มต้นของ มาแต่ละครั้งหมดไปได้ โดยทั่วไปแม่ที่ให้นมลูกผลิต
การส่งเสริมสุขภาพของเด็กในช่วงระยะ 2-3 ปีแรกของ น�้านมประมาณวันละ 23-27 ออนซ์ต่อวัน [2]
ชีวิต เพราะนมแม่เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ต�าราแพทย์แผนโบราณประเภทเวชกรรมไทย
ที่สมดุลและดีที่สุดส�าหรับทารกและเด็กเล็ก เหมาะสม มีการระบุยาสมุนไพรต�ารับที่มีคุณสมบัติในการช่วย
ต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย สมอง ท�าให้น�้านมเพิ่มมากขึ้น และแก้อาการน�้านมไม่ไหล
จอประสาทตา และอวัยวะอื่น ๆ รวมทั้งป้องกันการ ได้โดยมีส่วนประกอบคือโกฐ 5 เทียน 5 กรุงเขมา 1
เกิดโรคหลายโรคที่พบบ่อยในทารก เช่น โรคอุจจาระ ขิงแห้ง 1 รากกระพังโหม 1 ชะมดต้น 1 ซึ่งต�ารับยา
[3]
ร่วง โรคระบบทางเดินหายใจ และโรคภูมิแพ้ [1] นี้มีการใช้ในโรงพยาบาลพรหมพิรามเพื่อรักษากลุ่ม
องค์การอนามัยโลกได้แนะน�าว่าเด็กควรได้รับ อาการของมารดาให้นมบุตรที่มีภาวะน�้านมไหลน้อย
นมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และให้นมแม่ร่วมกับอาหาร หรือน�้านมไม่ไหล โดยมีวิธีการในการปรุงยาคือการ
ตามวัยจนถึงขวบปีที่สองหรือนานกว่านั้น สถานการณ์ ต้ม โดยใส่ตัวยาลงในภาชนะเติมน�้าลงไป 3 ส่วนของ
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประเทศไทย โดยส�านักงาน ตัวยา ต้มเคี่ยวจนเหลือน�้า จ�านวน 1 ส่วน รับประทาน
สถิติแห่งชาติ ด้วยการสนับสนุนขององค์การ UNI- ครั้งละ 100 มิลลิลิตร 3 ครั้ง/วัน เช้า กลางวัน เย็น
CEF แสดงจากกราฟแบบแผนการกินนมแม่ของทารก ก่อนอาหาร ซึ่งในปัจจุบันยังขาดงานวิจัยสนับสนุน
ตามช่วงอายุของประเทศไทย ปี 2555 พบว่า อัตรา ด้านคลินิกที่เกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพรในการดูแล
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วงอายุ 0-1, 3 ปัญหาน�้านมในมารดาหลังคลอด
และ 6 เดือนอยู่ที่ร้อยละ 30, 15 และ 12.3 ตามล�าดับ การศึกษานี้เห็นถึงปัญหาและสนใจในการ
เปรียบเทียบกับปี 2549 ในช่วงอายุเดียวกัน อยู่ที่ ดูแลเรื่องปริมาณน�้านมในมารดาหลังคลอดโดยใช้
ร้อยละ 11.6, 7.6 และ 5.4 ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดี ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยจึงน�าต�ารับสมุนไพร
ขึ้นในระดับหนึ่ง ภาพรวมของทารกที่ได้รับนมแม่ ใน เพิ่มน�้านมดังกล่าว หรือยาประสะน�้านมมาศึกษาผล
ช่วงอายุ 6-7 เดือนแรกยังอยู่ในระดับที่ดี คือร้อยละ เบื้องต้นของการเพิ่มปริมาณน�้านมในมารดาหลัง
55 แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมายอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนม คลอดรวมถึงความปลอดภัยในการใช้ เพื่อเป็นทาง
แม่อย่างเดียวในทารกอายุน้อยกว่า 6 เดือนของกรม เลือกในการเพิ่มปริมาณน�้านมในมารดาหลังคลอด
อนามัย ในปี 2556 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 องค์การ ต่อไป