Page 204 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 204

184 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




                                                         ชะมดต้น
                                                             3)  มีภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด
                         ระเบียบวิธีศึกษ�                (มากกว่า 140/90 mmHg)

                 การศึกษาประสิทธิผลของต�ารับยาประสะน�้านม     4)  มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
             ต่อการเพิ่มปริมาณน�้านมในมารดาหลังคลอด เป็นการ     5)  มีภาวะฉุกเฉินที่แพทย์แผนไทยหรือแพทย์

             ศึกษาแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental study)   แผนปัจจุบันมีความเห็นว่าเสี่ยงต่อการร่วมโครงการ
             โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของต�ารับยา     1.2  เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลและวัดผล

             ประสะน�้านมต่อการเพิ่มปริมาณน�้านมในมารดาหลัง      1)  แบบสอบถามสุขภาพของมารดาหลังคลอด
             คลอดรวมถึงความปลอดภัยในการใช้ต�ารับยาประสะ  ที่มารับบริการ โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 2 ส่วน
             น�้านม การศึกษานี้ได้รับอนุมัติให้ด�าเนินการวิจัยจาก  ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล

             คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ส�านักงาน  ของมารดาหลังคลอด ส่วนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูล
             สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก เลขที่โครงการวิจัยคือ   สุขภาพของมารดาหลังคลอด ส่วนที่ 3 แบบรายงาน

             20/2560 และได้รับการรับรองเลขที่ 007/2561   อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

             1. วัสดุ                                        2)  แบบบันทึกปริมาณน�้านมที่วัดได้จากเครื่อง
                                                         ปั๊มนมอัตโนมัติ โดยท�าการบันทึกในวันที่ 1, 2, 3, 7
                 1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง            และ 14 วันหลังคลอด
                 ประชากรของการศึกษานี้ คือ มารดาหลังคลอด
             ให้นมบุตรอายุระหว่าง 18-35 ปี ที่มารับบริการ ณ    2. วิธีก�รศึกษ�

             โรงพยาบาลพรหมพิราม โดยมีอายุครรภ์ 31-42         2.1  วิธีการและยาที่ใช้ในการรักษา
             สัปดาห์ ที่ได้รับการคลอดบุตรแบบปกติ ในช่วง      ต�ารับยาประสะน�้านม ผลิตจากโรงพยาบาล
             ระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2561 โดยการ    พรหมพิราม โดยใช้กระบวนการผลิตตามแนวทาง

             เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จ�านวน 24 คน แบ่ง  การแพทย์แผนไทย เลขที่ LOT.0016/61 วันที่ผลิต
             ออกเป็นกลุ่มละ 12 คน โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกผู้  23 กุมภาพันธ์ 2561 อายุของยา 1 ปี โดยอ้างอิง

             เข้าร่วมวิจัย ดังนี้                        กระบวนการผลิตและต�ารับยามาตรฐานจากต�ารา
                 เกณฑ์คัดเข้า (inclusion criteria)       แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ปริมาณต�ารับยา 500 กรัม
                 1)  หญิงอายุระหว่าง 18-35 ปี            วิธีการเตรียมยาโดยการใส่น�้าจนท่วมตัวยา (500

                 2)  คลอดแบบปกติ (normal labor)          มิลลิลิตร) ต้มจนเดือดประมาณ 15 นาทีแล้วกรองน�้า
                 3)  สามารถอ่านเขียน สื่อสารภาษาไทยได้   ที่ต้มมารับประทานครั้งละ 100 มิลลิลิตร รับประทาน

                 4)  ยินดีเข้าร่วมเป็นอาสาสมัคร          วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น
                 เกณฑ์คัดออก (exclusion criteria)            2.2  การเก็บรวบรวมข้อมูล
                 1)  มีประวัติผ่าตัดหน้าท้อง                 เก็บข้อมูลเป็นเวลา 14 วันหลังคลอด จาก

                 2)  มีประวัติแพ้ยาสมุนไพรในต�ารับ คือ โกฐ  แบบสอบถามประเมินก่อนการทดลองเป็นข้อมูลทั่วไป
             ทั้งห้า เทียนทั้งห้า กรุงเขมา ขิงแห้ง รากกระพังโหม
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209