Page 198 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 198

178 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ1 ครั้ง ก่อนนอน เป็นระยะ  พังผืดเรื้อรัง โดยอมลวัทน์ แท่นค�า  ดังได้กล่าวถึง
                                                                                   [26]
             เวลา 2 สัปดาห์  เช่นกัน ส�าหรับผลจากการศึกษา  แล้วข้างต้น แต่ผลพบว่า ในขนาดและระยะเวลาที่ให้
                         [26]
             นี้ พบว่าการรับประทานยาธรณีสัณฑะฆาตในขนาด   ยาธรณีสัณฑะฆาตแก่ผู้ป่วย ไม่มีผลในการลดภาวะ

             960 มก./วัน ก่อนนอน ติดต่อกันเป็น ระยะเวลา 2   เครียดออกซิเดชัน
             สัปดาห์ มีผลให้ระดับ TNF-α ในเลือดของผู้เข้าร่วม     สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบของต�ารับยาธรณี

             วิจัย ลดลงอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติอย่างมาก (p <   สัณฑะฆาต ที่มีปริมาณมากสุดในต�ารับยา คือ พริก
             0.001) และ มีผลท�าให้ระดับ IL-6 ในเลือดของผู้เข้า  ไทยล่อน ในผงยา 160 กรัม ประกอบด้วยพริกไทย
             ร่วมวิจัย ลดลงอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05)   ล่อน 96 กรัม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ดอกกานพลู

             เช่นกัน ก่อนได้รับยาธรณีสัณฑะฆาต ผู้เข้าร่วมวิจัย  เหง้าขิง รากชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิง อย่างละ 1
             จ�านวน 5 คน มีระดับ TNF-α ในเลือดระดับต�่ากว่า  กรัม สมุนไพรดังกล่าวนี้ มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ซึ่ง

             ค่าเฉลี่ย มีเพียง 1 คน ที่ระดับ TNF-α ในเลือดสูง  ข้อมูลเป็นผลจากการศึกษาในเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยง สัตว์
             กว่าค่าเฉลี่ย ส�าหรับระดับ IL-6 ในเลือด พบผู้เข้า  ทดลอง และการวิจัยในคน การศึกษาฤทธิ์อักเสบ
             ร่วมวิจัยจ�านวน 4 คน มีระดับที่ต�่ากว่าค่าเฉลี่ย และ   และฤทธิ์ระงับปวด ในหนูทดลอง ของสารสกัด

             2 คน มีระดับ IL-6 ในเลือดที่สูงกว่าค่าเฉลี่ย จาก  เอทานอลและสารสกัดเฮกเซนจากพริกไทยล่อน
             การศึกษาของ Kurniawan A และคณะ พบว่าการ     และ สารส�าคัญ piperine พบว่าทั้งสารสกัดและ
             สัมผัส PM 2.5 มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเพิ่ม  สารส�าคัญ มีฤทธิ์ระงับปวดและการอักเสบที่แรง
                                                                                              [13]
             ระดับTNF-α ในเลือดของผู้เข้าร่วมวิจัย (p < 0.05)   ลดการสร้าง TNF-α, IL-6, IL-1b และ PGE  จาก
                                                                                            2
             แต่การสูบบุหรี่ และความอ้วนของผู้เข้าร่วมวิจัย ไม่มี  เซลล์ไมโครเกลีย BV2  piperine ลดการสร้าง
                                                                           [14]
             ความเกี่ยวข้องกับการเพิ่มระดับTNF-α ในเลือด   เอนไซม์ matrix metalloproteinases, nitric

             (p > 0.05)  ในช่วงระหว่างสองสามวันแรกหลังเริ่ม  oxide synthase และ cyclooxyganse-2 ได้อย่าง
                     [8]
             รับประทานยาธรณีสัณฑะฆาต ผู้เข้าร่วมวิจัยจ�านวน 4   มีนัยส�าคัญในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม  ลดข้ออักเสบใน
                                                                                 [15]
             คน มีอาการถ่ายเหลว 2-3 ครั้งต่อวัน โดยไม่มีอาการ  หนูทดลอง และลดการผลิต TNFα, IL-1b และ
             ปวดมวนท้องก่อนการขับถ่าย แต่อาการหยุดหายไป  IL-6 ในผู้ป่วยตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน  สารสกัด
                                                                                       [27]
             โดยไม่ได้หยุดยา ทั้งนี้เนื่องจากยาธรณีสัณฑะฆาตมี  จากดอกจันทน์ มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนู  และ
                                                                                          [15]
             สรรพคุณในการระบายท�าให้เกิดการถ่ายเหลว      สารที่มีฤทธิ์ต้านอักเสบของจันทน์เทศ myristicin
                 ยาธรณีสัณฑะฆาตเป็นต�ารับยามีส่วนประกอบ  สามารถยับยั้ง LPS เหนี่ยวน�าการหลั่ง TNF-α, IL-

             ของสมุนไพรหลายชนิด ซึ่งสมุนไพรเหล่านี้อาจให้  6, IL-1b และ NO จากเซลล์ไลน์ RAW 264.7 [16]
             ผลเสริมร่วมกันในการแสดงฤทธิ์ของต�ารับยา ส่วน  สารสกัดเอทานอลของดอกกานพลู มีฤทธิ์ระงับปวด
             ประกอบในต�ารับหลายชนิดมีฤทธิ์ลดการอักเสบ และ   และต้านอักเสบในหนูทดลอง โดยยับยั้งการบวมที่

             ลดภาวะเครียดออกซิเดชัน ได้มีการศึกษาประสิทธิผล  อุ้งเท้าหนู  สารสกัดจากเหง้าขิงมีผลลดการปล่อย
                                                                [17]
             ของยาธรณีสัณฑะฆาตในการลดภาวะ oxidative      เอนไซม์ myeloperoxidase ลดการสร้าง TNF-α
             stress ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อ  และ PGE   จากการทดลองในหนูที่เหนี่ยวน�าให้เกิด
                                                                2
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203