Page 195 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 195
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 175
ผลกำรศึกษำ 2. ผลของกำรรับประทำนยำธรณีสัณฑะฆำต
ต่ออุณหภูมิร่ำงกำย ควำมดันโลหิตขณะ
1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มผู้เข้ำร่วมวิจัย หัวใจบีบตัวและคลำยตัว และอัตรำกำรเต้น
ในการศึกษานี้ ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ท�างานสัมผัสกับ ของหัวใจ ในผู้เข้ำร่วมวิจัย ที่ได้รับสัมผัสฝุ่น
ฝุ่นละเอียด PM 2.5 เป็นเวลา 8-10 ชั่วโมง/วัน และ ละเอียด PM 2.5
อาศัยอยู่ในพื้นที่บริเวณนั้น ในจังหวัดสมุทรสาคร ในช่วงเวลาที่ได้ด�าเนินการศึกษานั้น จากข้อมูล
มีจ�านวน 15 คน (100%) อายุเฉลี่ย 34.60 ± 10.51 การส�ารวจมลพิษทางอากาศเดือนมีนาคม 2564 ใน
ปี (21-55 ปี) อุณหภูมิร่างกายเฉลี่ย 36.59 ± 0.143 จังหวัดสมุทรสาคร ที่ Station 14t แสดงค่าความ
องศาเซลเซียส (36.30-36.80 องศาเซลเซียส) ความ เข้มข้นของ PM 2.5 อยู่ระหว่าง 23-97 มคก./ลบ.ม.
ดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวเฉลี่ย 127.00 ± 19.53 และและ ที่ Station 27t ค่า PM 2.5 อยู่ระหว่าง 17-
มม.ปรอท (92–173 มม.ปรอท) ความดันโลหิต 130 มคก./ลบ.ม. ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น ซึ่งในช่วง
ขณะหัวใจคลายตัวเฉลี่ย 75.20 ± 13.22 มม.ปรอท เวลาส่วนใหญ่ ค่าความเข้มข้นของ PM 2.5 จะเกิน
(48–100 มม.ปรอท) น�้าหนักเฉลี่ย 65.00 ± 13.73 50 มคก./ลบ.ม. ซึ่งจะเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
กิโลกรัม (45-88 กิโลกรัม) ส่วนสูงเฉลี่ย 162.20 ± 8.38 การให้ยาธรณีสัณฑะฆาตในขนาด 960 มก.ต่อวัน
เซนติเมตร (150-181 เซนติเมตร) ค่าดัชนีมวลกาย เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ แก่ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับ
(body mass index) เฉลี่ย 24.58 ± 4.23 กิโลกรัม/ สัมผัสฝุ่นละเอียด PM 2.5 พบว่าไม่มีผลให้อุณหภูมิ
2
เมตร (17.78-30.10) มีผู้เข้าร่วมรับการทดลองที่สูบ ของร่างกาย ค่าความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวและ
บุหรี่วันละ 1 มวน จ�านวน 6 คน (40.00%) คลายตัว และอัตราการเต้นของหัวใจ เปลี่ยนแปลง
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ จากก่อนการรับประทานยา
ธรณีสัณฑะฆาต (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 ผลการให้ยาธรณีสัณฑะฆาต ในผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับสัมผัสฝุ่นละเอียด PM 2.5 ต่ออุณหภูมิของร่างกาย
ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัว และอัตราการเต้นของหัวใจ
ก่อนรับประทาน หลังรับประทาน P–value
ยาธรณีสัณฑะฆาต ยาธรณีสัณฑะฆาต
Mean ± SD Mean ± SD
ค่าอุณหภูมิร่างกาย (องศาเซลเซียส) 36.59 ± 0.15 36.61 ± 0.12 0.73
ค่าความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว (มม.ปรอท) 127.00 ± 19.53 132.00 ± 21.17 0.24
ค่าความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัว (มม.ปรอท) 76.53 ± 11.13 79.53 ± 9.75 0.10
อัตราการของเต้นหัวใจ (ครั้งต่อนาที) 79.87 ± 11.83 80.60 ± 14.06 0.77
* p < 0.05; มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ