Page 192 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 192

172 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ของต�ารับยานี้ อาจมีการสะสมและเกิดพิษได้ ควร  ผลต่อการออกฤทธิ์ของยาได้ และควรระวังการใช้ในผู้
             ระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol,   สูงอายุ ผลข้างเคียงของยาธรณีสัณฑะฆาต อาจเกิด
             theophylline และ rifampicin เนื่องจากพริกไทยจะ  อาการวิงเวียน ปวดศีรษะ มวนท้อง คลื่นไส้ อาเจียนได้

             เกิดอันตรกิริยา (drug interaction) กับยาเหล่านี้ ส่ง


             ตารางที่ 1 ฤทธิ์ต้านการอักเสบและระงับปวดของสมุนไพรบางชนิด ที่เป็นส่วนประกอบของตำารับยาธรณีสัณฑะฆาต

                      ชื่อสมุนไพร                 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ต้านอักเสบและระงับปวด
             พริกไทยล่อน หรือพริกไทยขาว มีชื่อเรียก  piperine สารสกัดเอทานอลและสารสกัดเฮกเซนจากพริกไทยล่อน มีฤทธิ์
             ทางวิทยาศาสตร์ว่า Piper nigrum L.  ระงับปวด และการอักเสบที่แรง ในหนูทดลอง  และยับยั้ง lipopolysac-
                                                                            [13]
             สารสำาคัญคือ piperine         charide (LPS) ในการเหนี่ยวนำาการสร้าง TNF-α, IL-6, IL-1b และ PGE
                                                                                                2
                                           จากเซลล์ไมโครเกลีย BV2  piperine ยับยั้ง IL-1b ในการเหนี่ยวนำาการ
                                                              [14]
                                           สร้าง PGE  และ nitric oxide (NO) จากเซลล์กระดูกอ่อนของผู้ป่วยข้ออักเสบ
                                                  2
                                           และลดการสร้าง matrix metalloproteinases (MMP), nitric oxide synthase
                                           (iNOS) และ cyclooxyganse-2 (COX-2) ได้อย่างมีนัยสำาคัญ [15]

             ดอกจันทน์์ มีเรียกชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า  สารสกัดจากดอกจันทน์์ (170 มก./กก. p.o.) มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนู
             Myristica fragrans Houtt      ได้เทียบเท่ากับยา indomethacin 10 มก./กก.p.o. ซึ่งสารที่มีฤทธิ์ต้านอักเสบ
             สารสำาคัญคือ myristicin       ของจันทน์เทศ คือ myristicin และสามารถยับยั้ง LPS เหนี่ยวนำาการหลั่ง
                                                                [16]
                                           TNF-α, IL-6, IL-1b และ NO จากเซลล์ไลน์ RAW 264.7 [17]
             ดอกกานพลู มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์  สารสกัดเอทานอลของดอกกานพลูที่ความเข้มข้น 50 มก./กก. มีฤทธิ์
             ว่า Syzygium aromaticum (L.) Merrill  ระงับปวดได้ดีที่สุด และมีฤทธิ์ต้านอักเสบ โดยยับยั้งการบวมที่อุ้งเท้าหนูได้
                                               [18]
             & Perry                       42%  ฤทธิ์ระงับปวดของสาร eugenol จากดอกกานพลูมีกลไกเกี่ยวข้อง
             สารสำาคัญคือ eugenol          กับการยับยั้ง voltage-activated Na  and Ca  channels และ high-voltage
                                                                    +
                                                                           2+
                                           -activated-Ca  -channel [19]
                                                       2+
             เหง้าขิง มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า  สารสกัดจากเหง้าขิง (200-400 มก./กก.) มีผลลดการอักเสบ จากการ
             Zingiber officinale Roscoe    ทดลองในหนูที่เหนี่ยวนำาให้เกิดภาวะลำาไส้ใหญ่อักเสบ พบว่าสารสกัดจาก
                                           เหง้าขิง ลดการอักเสบ โดยลดการปล่อยเอนไซม์ myeloperoxidase (MPO)
                                                                     [20]
                                           และลดการสร้าง TNF-α และ PGE  และพบว่าการบริโภคขิงสดขนาด 2
                                                                    2
                                           กรัมต่อวัน ช่วยลดอาการปวดกล้ามเนื้อได้อย่างมีนัยสำาคัญ
                                                                                     [21]
             รากชะเอมเทศ มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์  สารสกัดเมทานอลของชะเอมเทศ มีฤทธิ์ต้านอักเสบที่ความเข้มข้น 200
             ว่า Glycyrrhiza  glabra L สารสำาคัญคือ  มก./กก. ยับยั้งการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวและการบวมของอุ้งเท้าหนู
             glycyrrhizin                  ทดลอง (46.86%) ได้อย่างมีนัยสำาคัญ ฤทธิ์ต้านอักเสบนี้เทียบเท่ากับ in-
                                           domethacin ที่ 10 มก./กก  และสามารถยับยั้ง LPS เหนี่ยวนำาการสร้าง
                                                               [22]
                                           iNOS, COX-2 mRNA การสร้าง NO, TNF-α, IL-1b, IL-6 จากเซลล์ไลน์
                                           RAW 264.7 ได้อย่างมีนัยสำาคัญ [23]
             รากเจตมูลเพลิงแดง มีชื่อทางวิทยาศาสตร์  สารสกัด plumbagin ซึ่งเป็นสารสำาคัญจากรากเจตมูลเพลิงแดง ที่ขนาด
                                                                                    ้[24]
             ว่า Plumbago indica L         ความเข้มข้น 100 มคก./มล. มีฤทธิ์ยับยั้งการอักเสบได  และสารสกัด
                                           plumbagin (2-10 mM) สามารถยับยั้ง IL-1b ในการกระตุ้นให้เกิดการหลั่ง
                                           NO และ PGE จากเซลล์กระดูกอ่อน ของคนได้อย่างมีนัยสำาคัญ
                                                                                        [25]
                                                     2
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197