Page 193 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 193

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  173




                   การศึกษานี้เลือกศึกษาต�ารับยาสมุนไพร   เมื่อยตามร่างกาย
              จากบัญชียาหลักแห่งชาติ ที่ประกอบด้วยสมุนไพร        3)  เป็นผู้ที่ท�างานสัมผัสกับฝุ่นละเอียด PM
              บางตัวที่มีฤทธิ์ต้านอักเสบ ดังนั้นจึงเลือกใช้ยาธรณี   2.5 เป็นเวลา 8-10 ชั่วโมง/วัน และอาศัยอยู่ในพื้นที่

              สัณฑะฆาต โดยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  บริเวณนั้น
              ผลของการใช้ยาธรณีสัณฑะฆาตในผู้เข้าร่วมวิจัยที่       4)  มีระดับ TNF-α และ IL-6 ในเลือด สูง

              ท�างานสัมผัสฝุ่นละเอียด PM 2.5 จากการท�างาน เป็น  กว่าเกณฑ์ปกติ คือ ระดับ TNF-α ในเลือดสูงกว่า 8.1
              เวลา 8-10 ชั่วโมง/วัน และอาศัยอยู่ในพื้นที่บริเวณนั้น   พิโกกรัม/มิลลิลิตร  และระดับ IL-6 ในเลือดสูงกว่า
                                                                        [22]
              ต่อระดับ TNF-α และ IL-6 ในเลือด             0.8 พิโกกรัม/มิลลิลิตร [23]

                                                                5)  ไม่มีประวัติการแพ้ยาสมุนไพรทุกชนิด
                          ระเบียบวิธีศึกษำ                      6)  เป็นผู้ที่ยินยอมเข้าร่วมตลอดโครงการ


                                                          วิจัย
              วัสดุ                                             1.1.2. เกณฑ์การคัดออก

                   1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง                 1)  มีภาวะไข้ อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 37.5

                   ผู้เข้าร่วมวิจัยเพศชาย อายุในช่วง 20-55 ปี ที่  องศาเซลเซียส
              มีการท�างานสัมผัสกับฝุ่นละเอียด PM 2.5 เป็นเวลา        2)  มีอาการแพ้ยาธรณีสัณฑะฆาต หรือมีผล
              8-10 ชั่วโมง/วัน และอาศัยอยู่ในพื้นที่บริเวณนั้น  ข้างเคียงอื่น ๆ เช่น มีผื่นคัน วิงเวียน ตาพร่า อาเจียน

                   จากการค�านวณใช้สูตรค�านวณของคอแครน     ท้องเสียรุนแรง และปวดศีรษะ
              (Cochran) กรณีไม่ทราบค่าสัดส่วนของประชากร       1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
                     n   =    Z 2                             1.2.1. แบบบันทึกค่าระดับ PM 2.5 รายวัน โดย

                          4e 2                            อ้างอิงข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ
                   ก�าหนดให้                                  1.2.2. แบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ชื่อ อายุ

                     n  =  ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ  ที่อยู่ ประวัติโรคประจ�าตัว ประวัติการใช้ยา ประวัติการ
                     e  =  ระดับความคลาดเคลื่อนของการสุ่ม  แพ้ยา อุณหภูมิร่างกาย ค่าความดันโลหิต น�้าหนัก
              ตัวอย่างที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ = 0.3          ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย

                     Z  =  ระดับความเชื่อมั่น 95% = 1.96      1.2.3. การตรวจหาระดับค่าการอักเสบ โดยวัด
                     n  =  10.67 ดังนั้นกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ   ระดับ TNF-α และ IL-6 จากเลือดของผู้เข้าร่วมวิจัย

              คือ 11 คน                                   ด้วยหลักการ ELISA technique โดยนักเทคนิคการ
                     1.1.1 เกณฑ์การคัดเข้า                แพทย์ ส่งตรวจห้อง Lab ที่ได้มาตรฐานรับรองระบบ
                     1)  เป็นเพศชายที่มีอายุอยู่ในช่วง 20-55 ปี   บริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานงานเทคนิคการ

                     2)  มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรค   แพทย์ 2560 และผ่านมาตรฐาน ISO 15189 : 2012
              ประจ�าตัว โรคเรื้อรัง หรือโรคอ้วน ไม่มีอาการปวด  (PCT Laboratory Service Co., Ltd.)
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198