Page 190 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 190
170 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
ตอบสนองของร่างกายในการป้องกันต่อสิ่งแปลก IL-1) ทูเมอร์ เนคโครซิส แฟคเตอร์ (tumor necrosis
ปลอม หรือสิ่งที่ท�าให้เซลล์หรือเนื้อเยื่อร่างกายได้ factors, TNF) ไนตริกออกไซด์ (nitric oxide, NO)
รับบาดเจ็บและเกิดความเสียหาย การตอบสนอง และสารสื่ออักเสบอื่น ๆ สารสื่ออักเสบดังกล่าวเหล่า
ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด การ นี้ จะเปลี่ยนแปลงการท�างานของเซลล์และเนื้อเยื่อ
ตอบสนองของเซลล์ชนิดต่าง ๆ และผลต่อร่างกายทั้ง ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการอักเสบ กล่าวคือ เพิ่มการ
ระบบ การอักเสบแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ การอักเสบชนิด ขยายหลอดเลือด (PGs. NO, histamine) เพิ่มการ
เฉียบพลัน (acute inflammation) และการอักเสบ ซึมผ่านของหลอดเลือด (bradykinin, leukotrienes-
ชนิดเรื้อรัง (chronic inflammation) การอักเสบ LTB , PAF, substance P, C3a, C5a) เพิ่มการ
4
เฉียบพลันเกิดขึ้นรวดเร็ว หลังได้รับสิ่งกระตุ้น อาการ ท�างานของนิวโทรฟิล (C5a, LTB4, TNF, IL-1,
คงอยู่ประมาณ 2-3 วัน เซลล์อักเสบส�าคัญที่เกี่ยวข้อง bacterial cell products) การท�าลายเนื้อเยื่อ (NO,
คือ นิวโทรฟิล ส่วนการอักเสบแบบเรื้อรังจะเกิดนาน เอนไซม์จากแมคโครฟาจ และลิมโฟซัยท์, อนุมูลอิสระ
กว่า อาจเกิดตามการอักเสบเฉียบพลัน หรือจากการ จากออกซิเจน) การรับสัมผัสฝุ่นละเอียด PM 2.5 พบ
ตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมบางชนิด ว่า มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มระดับ TNF-α และ IL-6
มีการสร้างเนื้อเยื่อพังผืด สร้างหลอดเลือดจ�านวน ในเลือด ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของการอักเสบที่ส�าคัญ
[7-9]
มาก เซลล์อักเสบที่มีบทบาทเกี่ยวข้องคือ แมคโครฟาจ การอักเสบแบบเรื้อรัง มีบทบาทที่ส�าคัญ ใน
และ ลิมโฟซัยท์ การอักเสบเรื้อรัง ท�าให้เนื้อเยื่อบริเวณ การก่อโรคเรื้อรังต่าง ๆ ซึ่งพบมีอัตราการตายเพิ่มขึ้น
นั้นของร่างกายเกิดพยาธิสภาพ ก่อให้เกิดโรคขึ้นใน ในปัจจุบัน ดังรายงานจากสถิติสาธารณสุขปี 2561
ร่างกายได้ ได้แก่ โรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสารณสุข ซึ่ง
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดอักเสบ โรคมะเร็ง รายงานว่า สาเหตุการตายที่ส�าคัญ 4 อันดับแรก ในปี
โรคทางระบบภูมิคุ้มกัน ภูมิแพ้ ข้ออักเสบ อัลไซเมอร์ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการอักเสบเรื้อรัง
โรคอ้วน เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด ได้แก่ มะเร็งทุกชนิด โรคหลอดเลือดในสมอง ปอด
[5-6]
และเซลล์ชนิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในการอักเสบ อักเสบ และโรคหัวใจขาดเลือด (ภาพที่ 2)
[10]
เฉียบพลันและเรื้อรัง เป็นผลจาก inflammatory จากการที่อัตราการตายด้วยโรคต่าง ๆ ของ
chemical mediator ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพลาสมา ซึ่ง ประชากรซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับกลไกการอักเสบ
ได้แก่ complement proteins และ kinin หรือที่ ดังกล่าวข้างต้นมีอัตราที่เพิ่มขึ้น ปัจจัยหนึ่งที่อาจมีผล
อยู่ในเซลล์อักเสบต่าง ๆ เช่น เกล็ดเลือด เซลล์เม็ด เกี่ยวข้องคือ การที่ได้รับสัมผัสฝุ่นละเอียด PM 2.5
เลือดขาว เซลล์เยื่อบุผนังหลอดเลือด เซลล์กล้าม ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ
เนื้อ เซลล์ fibroblasts สารสื่ออักเสบที่ถูกสร้างและ สมุนไพร เช่น ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ลดปวด ต้านอนุมูล
หลั่งจากเซลล์อักเสบเมื่อถูกกระตุ้น ตัวอย่างเช่น อิสระ ต้านภาวะเครียดออกซิเดชัน เป็นต้น แต่การ
ฮีสตามีน (histamine) ซีโรโทนิน (serotonin) พรอส- ศึกษาวิจัยยาในรูปแบบต�ารับยาแผนไทยในฤทธิ์ต่าง ๆ
ตาแกลนดิน (prostaglandin, PGs) ไซโตไคน์ (cy- ดังกล่าวยังมีน้อยมาก มีความเป็นไปได้ที่สมุนไพรที่มี
tokines) ต่าง ๆ เช่น อินเตอร์ลูคิน-1 (interlukin-1, ฤทธิ์ต้านการอักเสบ อาจมีประโยชน์ในการแก้ปัญหา