Page 189 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 189

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  169




              ได้ก�าหนดค่ามาตรฐานของระดับมลพิษในฝุ่นละเอียด     เมื่อหายใจน�าฝุ่นละเอียด PM 2.5 เข้าไปใน
              ขนาด 2.5 ไมครอน (PM 2.5) เป็น 5 ระดับ คือ 0-25   ร่างกาย อนุภาคเหล่านี้สามารถผ่านจมูกและปาก เข้า
              มคก./ลบ.ม. แสดงถึงคุณภาพอากาศดีมาก 26-37    สู่ระบบทางเดินหายใจมายังถุงลมเล็ก ๆ ในปอด ส่ง

              มคก./ลบ.ม. คุณภาพอากาศดี 38-50 มคก./ลบ.ม.   ผลให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคปอด
              คุณภาพอากาศปานกลาง ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็น  อุดกั้นเรื้อรัง โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคถุงลม

              พิเศษหากมีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและ  โป่งพอง โรคปอดอักเสบ โรคหอบหืด  ฝุ่นละเอียด
                                                                                       [2]
              ระคายเคืองตาไม่ควรท�ากิจกรรมกลางแจ้ง 51-90   PM 2.5 สามารถผ่านจากปอดเข้าสู่กระแสเลือดไป
              มคก./ลบ.ม. เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ไม่ควรท�า  ยังอวัยวะต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อการท�างานของระบบ

              กิจกรรมกลางแจ้งนาน หรือต้องใช้อุปกรณ์ป้องกัน   อื่น ๆ ในร่างกาย อวัยวะหรือระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
              และ 91 มคก./ลบ.ม. ขึ้นไป มีผลกระทบต่อสุขภาพ   ที่ได้รับผลกระทบจากฝุ่นละเอียด PM 2.5 ที่ส�าคัญ

              ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งทุกอย่าง [3]    นอกเหนือจากระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ หัวใจและ
                   จากการส�ารวจมลพิษทางอากาศเดือนมีนาคม   หลอดเลือด สมอง ระบบภูมิต้านทานของร่างกาย
              2564 ในจังหวัดสมุทรสาคร ค่าความเข้มข้นของ PM   กลไกส�าคัญที่ฝุ่นละเอียด PM 2.5 ก่อให้เกิดสภาวะ

              2.5 ที่ Station 14t แขวงการทางสมุทรสาคร ต.อ้อม  ผิดปกติ และโรคต่าง ๆ คือ ภาวะเครียดออกซิเดชัน
              น้อย อ.กระทุ่มแบน สมุทรสาคร. วัดได้อยู่ระหว่าง   (oxidative stress) ซึ่งเป็นผลจากฝุ่นละเอียด PM
              23-97 มคก./ลบ.ม และ ที่ Station 27t โรงเรียน  2.5 รบกวนสมดุลของสารอนุมูลอิสระในร่างกาย การ

              สมุทรสาครวิทยาลัย ต.มหาชัย อ.เมือง สมุทรสาคร   อักเสบ (inflammation) และความเป็นพิษต่อยีน
              อยู่ระหว่าง 17-130 มคก./ลบ.ม. (ที่มากรมควบคุม  (genotoxicity) [4]
              มลพิษ ) (ภาพที่ 1)                              การอักเสบ (inflammation) เป็นกระบวนการ
                   [3]























              ภาพที่ 1 ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละเอียด PM 2.5 สูงสุด ในเดือนมีนาคม 2564 พื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร (Station 14t
                     แขวงการทางสมุทรสาคร ต.อ้อมน้อย อ.กระทุ่มแบน สมุทรสาคร, Station 27t โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย
                     ต.มหาชัย อ.เมือง สมุทรสาคร)
                     ที่มา กรมควบคุมมลพิษ [3]
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194