Page 116 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 116
96 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
ผ้าขาวม้ารองใต้ต้นขาบริเวณเหนือเข่า และใต้เข่าเว้น 4 วัน/ครั้ง และหมอพื้นบ้านจากจังหวัดอุบลราชธานี
ระยะระหว่างข้อต่อเข่า แกว่งผ้าขาวม้าซ้ายขวา เพื่อ หมอไพศาล สอนอาจ ใช้ไม้นวดทรงกระบอกกดบาง
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อสะโพก ในกรณีที่ผู้ป่วยปวดเข่า จุด เช่น การนวดต้นขา น่อง
มากใช้ผ้าขาวม้าพันต้นขาแล้วใช้เท้าดันขา (ภาพที่ 2) จากจุดและแนวเส้นในการนวดของหมอพื้น
นวดถึงปลายเท้าข้างละ 30 นาที ทาน�้ามันไพล คลึง บ้านทั้ง 12 คน มีความคล้ายคลึงกัน โดยสามารถ
รอบเข่า ถ้ายังไม่หาย งอพับเข่าผู้ป่วยแล้วให้กางขา สรุปออกมาได้เป็น 20 แนวเส้นที่เหมือนกัน (ภาพที่ 3
ออกด้านข้าง ใช้ศอกกดบริเวณแนวขาด้านใน ทา และตารางที่ 1) หากแต่ละคนจะมีเทคนิคการวางมือ
น�้ามันไพล การตอกเส้นเข่า ตอกคลายกล้ามเนื้อต้นขา การลงน�้าหนักที่แตกต่างกันออกไป หมอพื้นบ้านที่ใช้
หน้าเข่า ตอกเส้นจุดเข่า และนวดคลึง ให้ค�าแนะน�าให้ เทคนิคการขิดและเขี่ยเส้นเป็นหลัก จ�านวน 3 คน
ผู้ป่วย นั่งแช่น�้าอุ่น ที่ใส่เกลือ และไพล วันละ 15-20 กดค้าง 10-20 วินาทีต่อจุด 7 คน และใช้เทคนิคผสม
นาที เช้า-เย็น งดรับประทานอาหารแสลงโรค เช่น ของ ผสาน 2 คน การนวดของหมอพื้นบ้านเป็นการนวด
หมักดอง หน่อไม้ เป็ด ไก่ ตรวจหลังการรักษาโดยให้ผู้ เพื่อเน้นคลายเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ ลดอาการปวด เดิน
ป่วยนั่งและเตะขา ลองขยับขาดูว่ารู้สึกอย่างไร จับเข่า ได้คล่องขึ้น ปวดขัดลดลง
โยกขึ้นลงและถามอาการ คลึงกล้ามเนื้อรอบเข่า ตรวจ 4.3 การตรวจหลังการรักษา หมอพื้นบ้านจะ
โดยกดวนเป็นก้นหอยและโยกเข่าขึ้นลง ให้การรักษา ทดสอบโดยให้ผู้ป่วยแสดงท่าทางที่เคยมีปวดหรือเคย
ภาพที่ 2 ตัวอย่างเทคนิคการนวดของหมอพื้นบ้านเสถียร ดาราช (หมอพื้นบ้านจากจังหวัดศรีสะเกษ)
ภาพที่ 3 สรุปแนวการนวดรักษาท่านอนหงาย นอนตะแคง และนอนคว�่าของหมอพื้นบ้าน