Page 121 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 121

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  101




              เห็นร่วมกันว่า การนวดพื้นบ้านอันประกอบด้วยการ  เขาได้พยายามปรับตัวคล้อยตามไปกับบริบทปัจจุบัน
              นวดต�าแหน่งขา สะโพก เท้า ซึ่งสัมพันธ์กับต�าแหน่ง  โดยการฟื้นฟูวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ความเป็น
              กล้ามเนื้อที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว  ชนเผ่าในแต่ละเขตพื้นที่ คือ ชนเผ่าส่วย ชนเผ่า

              ของข้อเข่า เช่น กล้ามเนื้อกลุ่มแฮมสตริง (ham-  เขมร ชนเผ่าลาว และชนเผ่าเยอ วัฒนธรรมและ
              strings) กล้ามเนื้อกลุ่มควอดไดรเซปส์ (quadri-  อัตลักษณ์บางส่วนสูญหายไป แต่ปัจจุบันมีการ

              ceps) กล้ามเนื้อกางขา กล้ามเนื้อหุบขา ซึ่งการ   ฟื้นฟูวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ให้คงไว้และรองรับ
              นวดพื้นบ้านท�าให้การไหลเวียนเลือดบริเวณที่นวด  กับกระแสสังคม ความเปลี่ยนแปลงของโรคภัยไข้
              และบริเวณใกล้เคียงดีขึ้น เกิดการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ  เจ็บ และเพื่อผลประโยชน์อันพึงมีพึงได้ที่พวกเขา

              บริเวณข้อเข่าที่เสื่อมกลับมาแข็งแรงขึ้น เพิ่มความ  จะได้รับ  ผลการศึกษาด้านการสืบทอดองค์ความ
                                                                [29]
              ยืดหยุ่นให้แก่ข้อและกล้ามเนื้อบริเวณที่นวด ส่งผล  รู้หมอพื้นบ้านและพิธีกรรมก่อนรักษา พบว่าหมอ

              ให้ปวดลดลง ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบแนวเส้นมีจุดนวด  พื้นบ้านส่วนใหญ่มีบรรพบุรุษที่เป็นหมอพื้นบ้าน ซึ่ง
              ที่ใกล้เคียงกับแนวเส้นนวดไทย หากต่างกันที่การจัด  เป็นเหตุผลที่คล้ายคลึงกับการศึกษาหมอพื้นบ้านใน
              ท่าผู้ป่วย และเทคนิคการลงน�้าหนัก ทิศแรงที่มีความ  หลายพื้นที่ ทั้งนี้กระบวนการรักษาของหมอพื้นบ้าน

              แตกต่างกัน โดยการนวดราชส�านักไม่มีการจัดท่านอน  เป็นแบบผสมผสานโดยใช้การรักษาร่วมกับการ
              คว�่าและไม่ใช้เท้าในการนวด [26-27]  ต�าแหน่งแนวเส้น  บริกรรมคาถา เป่า ขึ้นอยู่กับพิธีกรรมตามความเชื่อ
              มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับแนวเส้นการนวดรักษา  ของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ กระบวนการรักษา ขั้นตอน

              ของหมอพื้นบ้านในหลาย ๆ พื้นที่ ซึ่งมีจุดเน้นการ  การซักประวัติและการตรวจร่างกายก่อนการรักษา
              รักษาโรคหรืออาการที่แตกต่างกันออกไป  กล่าว  เป็นกระบวนการที่หมอพื้นบ้านให้ความส�าคัญ [30]
                                               [28]
              ได้ว่าการนวดตามศาสตร์ตะวันออกหรือการนวด     ในประเทศไทยการแพทย์พื้นบ้านโดยหมอพื้นบ้าน

              พื้นบ้านมีความคล้ายคลึงกันซึ่งไม่เกี่ยวกับชาติพันธุ์   เป็นผู้ดูแลสุขภาพยังมีบทบาทในการดูแลสุขภาพด้วย
              ต่างเพียงภาษาที่ใช้และด้านความเชื่อและพิธีกรรม   ภูมิปัญญาพื้นบ้านตามบริบทของสังคม เป็นการดูแล

              ซึ่งสอดคล้องกับขนบธรรมเนียม ความเชื่อของกลุ่ม  สุขภาพอย่างเป็นกันเองในชุมชนโดยไม่ต้องอาศัย
              ชาติพันธุ์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัด  เทคโนโลยี ได้รับการยอมรับให้เป็นส่วนหนึ่งของการ
              ศรีสะเกษที่มี ชาวเยอซึ่งเป็นกลุ่มย่อยที่รวมอยู่ใน  ด�าเนินชีวิตภายใต้กระบวนทัศน์สุขภาพ  แม้สภาพ
                                                                                        [21]
              กลุ่มของชาวกวย จากมุมมองดังกล่าวยังคงกล่าว  เศรษฐกิจ สังคม และวิวัฒนาการทางการแพทย์จะมี
              ถึงกลุ่มเยอภายใต้กลุ่มย่อยของชาวกวยซึ่งเป็นการ  ความเจริญก้าวหน้าไปมาก แต่ประชาชนโดยเฉพาะ

              จ�าแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามตระกูลภาษาและชาติพันธุ์   ในชนบท ก็ยังให้ความสนใจในการมารับบริการกับ
              ในด้านแนวการปฏิบัติบางอย่างมีแตกต่างกันเล็กน้อย   หมอพื้นบ้าน อาจเนื่องมาจากการแพทย์แผนปัจจุบัน
              ทั้งนี้เพราะจังหวัดศรีสะเกษมีหมู่บ้านหรือชุมชนที่ชาว  มีข้อจ�ากัดในการรักษาในบางอาการ ไม่ตอบสนอง

              กวยหรือที่เรียกกันว่า “ชาวส่วย’’ มากกว่าจังหวัดอื่น  ต่อความต้องการของประชาชน อีกทั้งขั้นตอนการ
              ในภาคอีสาน กลุ่มชาติพันธุ์ในทั้งสองจังหวัดด�าเนิน  รักษาของหมอพื้นบ้านมีรูปแบบที่เข้าถึงได้ง่าย ดูแล
              ชีวิตอยู่ภายใต้บริบทของ กระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งพวก  รักษาทั้งร่ายกายและจิตใจควบคู่กันไป อีกทั้งหมอ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126