Page 114 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 114

94 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             แจ้งเหตุผลใด ๆ และการศึกษานี้ได้ผ่านการพิจารณา  พอกเข่าด้วยยาสมุนไพร, ตอกเส้นและใช้ไม้นวด ตาม
             รับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์   ล�าดับ
             มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ตามเอกสารการ

             รับรองเลขที่ 014/2563 ลงวันที่ 29 กันยายน 2563   2. ภูมิหลังและบทบำทของกำรเป็นหมอพื้นบ้ำน
                 2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล                    ในชุมชน

                 การรวบรวมข้อมูลภาคสนาม ประมวลข้อมูล         หมอพื้นบ้านคือผู้ที่ท�าการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ
             และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งจากข้อมูลเอกสารและภาค  ของคนในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง โดยส่วนมาก
             สนามโดยการสังเกต การสัมภาษณ์เจาะลึกและการ   ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษในครอบครัว เช่น

             บันทึกข้อมูลอย่างละเอียด สร้างข้อสรุปในลักษณะ  ปู่ย่า ตายาย พ่อแม่ จ�านวน 7 คน มีความอยากช่วย
             การบรรยาย น�าเสนอผลการศึกษาด้วยการพรรณนา    เหลือ เรียนรู้จากการถ่ายทอดของพระอาจารย์ จ�านวน

             วิเคราะห์ จัดท�ารายงานข้อมูลหลังการวิเคราะห์แล้ว  2 คน เรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสนใจค้นคว้าต�ารา
             ท�าการคืนข้อมูลให้หมอพื้นบ้านได้ร่วมตรวจทาน  ศึกษาด้วยตนเอง 1 คน และรักษาตัวเองจนหายดี จึง
             หรือช�าระข้อมูลร่วมกัน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง  มาเป็นหมอพื้นบ้าน จ�านวน 2 คน หมอพื้นบ้านอาศัย

             และเพิ่มเติมเนื้อหาในบางประเด็นที่อาจมีความคลาด  การเรียนรู้จากการสังเกต ฝึกปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้า
             เคลื่อนให้ถูกต้องเหมาะสม น�าข้อมูลกลับมาแก้ไขและ  ต�าราที่บรรพบุรุษให้ไว้และต�าราอื่นเพิ่มเติมเพื่อพัฒนา
             เพิ่มเติมตามข้อมูลที่หมอพื้นบ้านต้องการเปิดเผย   เทคนิควิธีการนวดเพิ่มเติมด้วยตนเอง รวมทั้งบางคน

             พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบต�าแหน่งทาง  มีครูบาอาจารย์ถ่ายทอดความรู้ให้ นอกจากนี้ทางภาค
             กายวิภาคศาสตร์โดยแพทย์แผนไทยประยุกต์และนัก  รัฐได้สนับสนุนให้มีเวทีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ
             กายภาพบ�าบัด ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จ�านวน   ให้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และถอดบทเรียนร่วมกัน

             3 คน                                        เป็นระยะ ผู้มารับบริการส่วนมากเป็นคนในชุมชนและ
                                                         พื้นที่ใกล้เคียงที่ทราบข่าวจากการบอกเล่าปากต่อปาก
                           ผลกำรศึกษำ                    และมารับบริการที่บ้านหมอพื้นบ้านเป็นส่วนใหญ่




             1. ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล                    3. หลักกำรรักษำ

                 หมอพื้นบ้าน 12 คน เป็นเพศชาย 9 คน เพศหญิง      หมอพื้นบ้านมีการปฏิบัติตนเกี่ยวกับความเชื่อ
             3 คน นับถือศาสนาพุทธ สถานภาพสมรสทั้งหมด     หรือข้อบังคับของการเป็นหมอพื้นบ้านโดยถือศีล 5

             มีอายุเฉลี่ย 60.08 ปี มีการศึกษาในระดับประถม  มีการบูชาค่าครู ประกอบด้วย กรวยดอกไม้ 5 ดอก
             ศึกษาปีที่ 4–6 นอกจากการเป็นหมอพื้นบ้าน ประกอบ  ธูป เทียน ผ้าถุงหรือผ้าขาว อาจมีเหล้าขาว 1 ขวดหรือ
             อาชีพเป็นเกษตรกร สืบเชื้อสายไทยลาว จ�านวน 6   ข้าวสารและเงินขึ้นอยู่กับความอนุเคราะห์ของผู้มารับ

             คน ไทยเขมร 5 คน ไทยกูย 1 คน หัตถการหรือการ  บริการ หมอจะไม่ท�าการนวดรักษาในกรณีที่ผู้ป่วยมี
             ใช้ยาประกอบการนวด ได้แก่ ยานวดสมุนไพร/ขี้ผึ้ง/  แผลเปิด โรคผิวหนังเรื้อรัง มีเลือดออกบริเวณเข่า คล�า
             น�้ามันนวด เป็นส่วนใหญ่ รองลงมาคือ ยาต้มสมุนไพร,   แล้วพบว่าลูกสะบ้าไม่อยู่ในเบ้า งอเข่าไม่ได้ เข่าผิดรูป
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119