Page 112 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 112

92 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             นอกจากนี้ยังมีชาวไทยเชื้อสายกัมพูชาหรือกูย ชน  มีการเรียนวิชาจากครูคนเดียว หลายคน รวมถึงทักษะ
             เผ่าพื้นเมืองเผ่าข่าหรือเผ่าบรู สืบเชื้อสายมอญ-เขมร   การนวดเกิดขึ้นจากคนในชุมชนมีการท�างาน ใช้แรง
             และชนเผ่ากุลา นอกจากนี้ยังมีผู้ที่สืบเชื้อสายชาวจีน   กายในการประกอบอาชีพ จึงมีการนวดเพื่อบรรเทา

             ชาวอินเดียและชาวเวียดนามที่จะตั้งถิ่นฐานในอ�าเภอ  อาการเจ็บปวด เมื่อยล้าทางร่างกาย หรือแก้ปัญหาที่
             เมือง  ชนเผ่ากูย เป็นชนกลุ่มใหญ่ที่ตั้งหลักแหล่ง  เกิดจากโครงสร้างร่างกาย
                 [11]
                                                                            [12]
             อยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร์ และบางส่วน     การศึกษาการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์
             ของจังหวัดบุรีรัมย์ ชนเผ่ากูยมีหลักฐานปรากฏใน  ทางเลือกโดยการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาอาการ
             กฎหมายอยุธยา ฉบับ พ.ศ. 1975 ซึ่งตราขึ้นในรัชกาล  ข้อเข่าเสื่อม พบว่า สมุนไพรขิง  ขมิ้นชัน  เถาวัลย์
                                                                                        [14]
                                                                                [13]
             สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (พ.ศ. 1967-1991) มี  เปรียง  ยาเบญจกูล  สามารถลดการอักเสบบรรเทา
                                                                        [16]
                                                             [15]
             ข้อความตอนหนึ่งระบุไว้ว่า พ่อค้าต่างชาติเดินทางเข้า  อาการปวด การใช้ยาสมุนไพรพอกเข่า การนวดและ
             มาค้าขายยังกรุงศรีอยุธยา ประกอบด้วย ชาวอินเดีย   การประคบสมุนไพรสามารถลดการอักเสบ บรรเทา
             มลายู ชาน (ไทยใหญ่) กวย แกว (ญวน) และชาติอื่น ๆ    อาการปวด เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีภาวะข้อเข่า
             หลักฐานนี้เป็นหลักฐานชั้นต้นที่เก่าที่สุดปรากฏใน    เสื่อมได้  การนวดด้วยตนเองและการท�าท่าบริหาร
                                                               [17]
             ราชส�านักสยามที่ใช้ค�าว่า “กวย’’ ชาวกวยสามารถ  เข่าสามารถเพิ่มประสิทธิผลในการเดินและคุณภาพ
             แบ่งได้สี่กลุ่ม ตามส�าเนียงภาษาและสภาพภูมิศาสตร์  ชีวิตในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมได้  โรงพยาบาลส่งเสริม
                                                                              [18]
             การอยู่อาศัย ได้แก่ 1) “กวยมะไฮ’’ อาศัยอยู่ใน  สุขภาพต�าบลกองนาง จังหวัดหนองคายมีการศึกษา

             จังหวัดอุบลราชธานี อ�าเภอโขงเจียม และในประเทศ  การรักษาโรคจับโปงน�้าเข่าโดยการพอกยาสมุนไพรที่
             ลาวบริเวณทางฝั่งขวาแม่น�้าโขง เป็นชาวกวยที่อาศัย  เข่า 20 นาที ร่วมกับการให้ค�าแนะน�าตามหลัก 3 อ.
             อยู่บนภูเขาเรียกตนเองว่า “ชาวบรูหรือชาวบลู’’   ประกอบด้วย อาหาร ออกก�าลังกาย และอารมณ์ พบว่า

             2) “กวยมะลอ’’ อยู่ในแถบจังหวัดอุบลราชธานี   ในกลุ่มทดลองอาการปวดเข่า (pain score) ลดลง
                                                                                              [19]
             และจังหวัดศรีสะเกษ 3) “กวยมะลัว’’ หรือ “มะ  จะเห็นได้ว่ามีการศึกษาแนวทางการรักษาโรคข้อเข่า

             หลั่ว’’ อยู่ในแถบจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัด  เสื่อมอย่างต่อเนื่อง เพราะในปัจจุบันผู้คนประสบ
             สุรินทร์ 4) “กวยเยอหรือโย’’อาศัยอยู่ในจังหวัด  ปัญหาโรคข้อเข่าเสื่อมเพิ่มมากขึ้นไม่ว่าจากการเข้าสู่
             อุบลราชธานีและศรีสะเกษ วัฒนธรรมด้านการดูแล  สังคมผู้สูงอายุ และภาวะโภชนาการเกิน ในภาคอีสาน

             สุขภาพโดยหมอพื้นบ้านในแถบนี้มีประสบการณ์    หมอพื้นบ้านยังคงมีบทบาทส�าคัญในการดูแลสุขภาพ
             การรักษาโรคจากเหตุการณ์เฉพาะที่เป็นไปตาม    ของคนในชุมชน โดยอาศัยทั้งความเชื่อ พิธีกรรม

             ความเชื่อและความศรัทธา ซึ่งเกี่ยวข้องกับอ�านาจ  ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นยังคง
             เหนือธรรมชาติและพิธีกรรมในการรักษาโรค เช่น   ด�าเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลจาก
             คนทรง หมอร�าผีฟ้า หมอขวัญ และเฒ่าจ�้า ของ   โรงพยาบาล  จากการศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน
                                                                  [20]
             ชาวอีสาน หมอมะม้วดของชาวเขมร หมอมอของ       จังหวัดอุบลราชธานี พบว่ามีหมอพื้นบ้าน จ�านวน 200
             ชาวกูย มีความสามารถในการรักษาโรคทั้งทางกาย  คนที่มีการใช้องค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้านในการ
             และทางใจให้บุคคลในชุมชน ซึ่งผ่านการเรียนรู้ ฝึกฝน   ดูแลสุขภาพของคนในชุมชน  ข้อมูลจากส�านักงาน
                                                                              [21]
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117