Page 113 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 113

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  93




              สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษพบว่าหมอพื้นบ้าน    ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลประวัติทั่วไปของ
              ที่ขึ้นทะเบียนรับรองการเป็นหมอพื้นบ้าน จ�านวน   หมอพื้นบ้าน ส่วนที่ 2 ภูมิหลังและบทบาทการเป็น
              178 คน เป็นหมอนวดพื้นบ้าน จ�านวน 26 คน  การ  หมอพื้นบ้าน ส่วนที่ 3 หลักการซักประวัติ ตรวจ
                                                [22]
              ศึกษาองค์ความรู้จากหมอพื้นบ้านที่มีประสบการณ์  วินิจฉัย ส่วนที่ 4 วิธีการรักษา โดยใช้เทคนิคการ
              ในการรักษาที่หลากหลายและสังเคราะห์ออกมาเป็น  สัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการและสัมภาษณ์ตาม

              แนวทางในการรักษา ท�าให้ได้แนวปฏิบัติที่ชัดเจนมาก  แบบฟอร์มที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
              ขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์และเป็นทางเลือกอีกแนวทาง  โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 คน โดยเครื่องมือมีค่าดัชนีความ
              หนึ่งในการบ�าบัดรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม การอนุรักษ์  สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (item objective con-

              ที่ดี และองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาที่ดีสามารถ  gruence index: IOC) เท่ากับ 0.90 ร่วมกับใช้เทคนิค
              ใช้เป็นเครื่องมือในการคุ้มครองภูมิปัญญาได้อย่างดี  การสังเกต 2) กล้องบันทึกภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลที่

              การสื่อสารกับโลกยุคปัจจุบันยังต้องอาศัยศาสตร์ทั้ง  สมบูรณ์ และ 3) แบบบันทึกการสนทนา
              ด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เพื่อพัฒนาข้อมูล
              ภูมิปัญญามาใช้ได้อย่างสมเหตุสมผล            2. วิธีกำรศึกษำ
                                          [7]
                   การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญา     2.1 วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล
              การนวดพื้นบ้านอีสานจากกรณีหมอพื้นบ้านในจังหวัด     โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง (purposive sam-
              อุบลราชธานีและจังหวัดศรีสะเกษ จ�านวน 12 ราย เพื่อ  pling) มีเกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria) ได้แก่

              สืบทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านไทยของบรรพบุรุษสู่รุ่นต่อ  เป็นหมอพื้นบ้านที่มีประสบการณ์การนวดรักษาโรค
              ไป และได้แนวทางการดูแลสุขภาพแบบผสมผสานใน    ข้อเข่าเสื่อมไม่น้อยกว่า 10 ปี มีการรักษาและความ
              ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม                     คงอยู่เป็นหมอพื้นบ้านอยู่เสมอ อนุญาตให้เยี่ยม

                                                          บ้าน การเดินทางไปเก็บข้อมูลท�าได้ปลอดภัย และ
                          ระเบียบวิธีศึกษำ                ยินยอมให้ข้อมูลด้วยความสมัครใจ อนุญาตให้เปิด


                   การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบ  เผยข้อมูลภูมิปัญญาการรักษาของตนโดยไม่ปิดบัง ซึ่ง
              กรณีศึกษา ได้ศึกษาภูมิปัญญาการนวดรักษาอาการ  จากจ�านวนหมอพื้นบ้านในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
              ปวดเข่า ขัดเข่า ข้อเข่าเสื่อมของหมอพื้นบ้านประกอบ  และจังหวัดศรีสะเกษที่ให้การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

              ด้วย ขั้นตอนก่อนการรักษา ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัย   ด้วยการนวดทั้งหมด 30 คน มีผู้ผ่านเกณฑ์การคัด
              ขั้นตอนการรักษา การประเมินผลการรักษา และ    เลือกทั้งสิ้น จ�านวน 12 คน โดยเป็นหมอพื้นบ้านใน

              ขั้นตอนการให้ค�าแนะน�าในการฟื้นฟูร่างกาย จิตใจ   เขตจังหวัดอุบลราชธานี จ�านวน 6 คน และจังหวัด
              และจิตวิญญาณ                                ศรีสะเกษ จ�านวน 6 คน
                                                              2.2 การคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล
              1. วัสดุ                                        โดยการชี้แจงรายละเอียดของโครงการฯ กรณี

                   เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา มีดังนี้ 1) แบบ  ที่หมอพื้นบ้านไม่ต้องการเปิดเผยข้อมูลของตนเอง
              สัมภาษณ์หมอพื้นบ้านแบบเจาะลึกแบ่งออกเป็น 4   ต่อไป สามารถยุติการเข้าร่วมโครงการได้โดยไม่ต้อง
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118