Page 198 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 198
744 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
ราย กลุ่มการรักษา 36 ราย รักษาโดยการฝังเข็ม จุด เส้นลมปราณและฝังเข็มตามกลุ่มอาการ มีการเลือก
หลัก ได้แก่จุด TaiYang (EX-HN5), TaiChong (LR ใช้จุดในการรักษา ทั้งหมด 44 จุด จุดที่ใช้บ่อยที่สุด
3), ShenTing (GV 24), TouWei (ST 8), FengChi 5 อันดับ ได้แก่ จุด TaiYang (EX-HN5), LieQue
(GB 20), BaiHui (GV 20), LieQue (LU 7) และเพิ่ม (LU 7), FengChi (GB 20), BaiHui (GV 20) และจุด
จุดตามกลุ่มอาการ เช่น ปวดศีรษะต�าแหน่งเส้นลม TouWei (ST 8) ใน 5 จุดนี้มี 4 จุด คือ จุด TaiYang
ปราณซ่าวหยาง เพิ่มจุด SiZhuKong (TE 23), HeGu (EX-HN5), FengChi (GB 20), BaiHui (GV 20),
(LI 14), ปวดศีรษะต�าแหน่งเส้นลมปราณหยางหมิง TouWei (ST 8) สอดคล้องกับตารางที่ 1 แสดงจุด
เพิ่มจุด YinTang (EX-HN3), FengLong (ST 40) หลักที่ใช้ในการฝังเข็มรักษาอาการปวดศีรษะจากลม
[2]
กลุ่มควบคุม 36 ราย รักษาโดยการรับประทานยาแก้ กระท�าต่อเส้นลมปราณ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น
ปวดแผนปัจจุบัน 罗通定片 (Rotundine Tablets)
และ 复方丹参片 (Fufang Danshen Tablets) บทสรุป
30 mg. วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 3 เม็ด การศึกษาพบ จากการศึกษาพบว่าการฝังเข็มตามศาสตร์การ
ว่า กลุ่มการทดลองมีประสิทธิผลการรักษา คิดเป็น แพทย์แผนจีนรักษาอาการปวดศีรษะได้ผลดี การฝัง
ร้อยละ 94.44 กลุ่มควบคุม มีประสิทธิผลการรักษา คิด เข็มตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนเป็นทางเลือกหนึ่ง
เป็นร้อยละ 77.78 โดย 2 กลุ่ม มีความแตกต่างอย่าง ในการรักษาอาการปวดศีรษะ เพื่อทดแทนหรือลดการ
มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05 และเมื่อรักษากลับ ใช้ยา ซึ่งอาจมีผลข้างเคียงการจากใช้ยาในระยะยาว
ไปแล้ว 1 ปี กลุ่มการทดลองกลับมามีอาการ คิดเป็น ตลอดจนสามารถใช้ในผู้ที่ไม่ประสงค์หรือไม่สามารถ
ร้อยละ 8.33 กลุ่มควบคุม คิดเป็นร้อยละ 18.75 โดย ใช้ยาได้
2 กลุ่ม มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่
p < 0.05 References
1. Archananuparp S. Textbook of general medical ex-
บทวิจ�รณ์ amination, volume 2: 350 diseases and treatment and
prevention. Bangkok: Holistic Publishing; 2010. (in Thai)
จากการศึกษางานวิจัยการฝังเข็มตามศาสตร์ 2. Hasanine T, editors. Acupuncture & moxibustion
การแพทย์แผนจีน พบว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการรับ volume 2. Nonthaburi: The Agricultural Cooperative
Federation of Thailand Limited; 2010. (in Thai)
ประทานยาแก้ปวดแผนปัจจุบัน ใช้เกณฑ์การวัดผล 3. Hazanine T, Promkiam-on B, Jirapinitwong S, editors.
VAS (Visual Analog Scoring) ในการประเมินระดับ Acupuncture-moxibustion, volume 3 (Acupuncture for
pain treatment). 2nd ed. Nonthaburi: The Agricultural
ความเจ็บปวดของผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม พบว่าการฝังเข็ม Cooperative Federation of Thailand; 2011. (in Thai)
มีประสิทธิผลที่ดีกว่าการรับประทานยาแก้ปวดอย่างมี 4. Chen HM. Clinical effect of acupuncture and moxibus-
tion treating headache. Cardiovascular Disease Journal
นัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05 จากการรวบรวมข้อมูล of integrated traditional Chinese and Western Medicine.
งานวิจัยข้างต้นทั้งหมด พบว่าการรักษาอาการปวด 2018;6(20):140. (in Chinese)
5. Zhu YH. Analysis of curative effect of traditional Chinese
ศีรษะด้วยการฝังเข็มตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน
medicine acupuncture and moxibustion on headache.
แบ่งการรักษาออกเป็น 2 แบบ คือ ฝังเข็มตามต�าแหน่ง Electronic Journal of Clinical Medical Literature.