Page 195 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 195

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 3  Sep-Dec  2021  741




            ลมปราณ เพิ่มจุด BaiHui (GV 20), FengChi (GB   (BL 15), GeShu (BL 17), PiShu (BL 20), ZuSanLi
            20), TaiYang (EX-HN5), LieQue (LU 7) ปวด    (ST 36) ร่วมกับ QiHai (CV 6) กลุ่มปวดศีรษะจาก

            ศีรษะจากปัจจัยภายในร่างกาย เพิ่มจุด TouWei (ST   ลมปราณพร่อง ใช้จุดหลัก GuanYuan (CV 4), Bai-
            8) ปวดศีรษะจากการได้รับลมร้อนมากระทบ เพิ่มจุด   Hui (Gv 20), ZuSanLi (ST 36), QiHai (CV 6) ร่วม
            QuChi (LI 11), DaZhui (GV 14) ปวดศีรษะจาก   กับ TaiYang (SP 3) กลุ่มปวดศีรษะจากไตพร่อง ใช้

            การได้รับลมเย็นมากระทบ เพิ่มจุด FengMen (BL   จุดหลัก TaiXi (KI 3), SanYinJiao (SP 6), ShenShu
            12) ในกรณีปวดศีรษะแบบฉับพลัน ฝังวันละ 1-2 ครั้ง   (BL 23), GanShu (BL 18) ร่วมกับ CuanZhu (BL 2),
            กรณีปวดแบบเรื้อรัง ฝังวันละ 1 ครั้ง ต่อเนื่องเป็นเวลา   YuYao (EX-HN4 ) กลุ่มปวดศีรษะจากเสมหะคั่งค้าง

            15 วัน การศึกษาพบว่า กลุ่มการรักษาโดยการฝังเข็ม  ใช้จุดหลัก FengLong (ST 40), ZhongWan (CV
            ให้ประสิทธิผลการรักษาอาการปวดศีรษะได้ดีกว่า  12), TouWei (ST 8), TaiYang (EX-HN5) ร่วมกับ
            กลุ่มการทดลอง โดย 2 กลุ่ม มีความแตกต่างอย่างมี   YinLingQuan (SP 9), BaiHui (Gv 20) กลุ่มปวด

            นัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05               ศีรษะจากลมร้อนชนิดรุนแรง ใช้จุดหลัก FengChi
                                         [6]
                 3. LI XiangYun (李乡云)  แบ่งผู้ป่วย      (GB 20), XingJian (LR 2), DaDun (LR 11), HeGu
            80 ราย กลุ่มการทดลอง 40 ราย รักษาโดยการรับ  (LI 14) ร่วมกับ ShuaiGu (GB 8), XiaXi (GB 43),
            ประทานยาแผนปัจจุบันรักษาอาการปวดร่วมกับการ  BaiHui (GV 20), TongTian (BL 7) การศึกษาพบว่า
            ใช้จิตบ�าบัดเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น การฟังเพลง ดู  กลุ่มการรักษาโดยการฝังเข็มให้ประสิทธิผลการรักษา

            ทีวี การสนทนา การสูดดมออกซิเจนบริสุทธิ์ 8-10 ลิตร   ในการลดอาการปวด และการนอนหลับได้ดีกว่ากลุ่ม
                                                        การทดลอง โดย 2 กลุ่ม มีความแตกต่างอย่างมีนัย
            เป็นเวลา 15 นาที วันละ 2 ครั้ง และฉีดยา 舒马曲
            坦 (Sumatriptan) ในกรณีที่มีอาการปวดศีรษะแบบ  ส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05
            ฉับพลัน กลุ่มการรักษา 40 ราย รักษาโดยการฝังเข็ม      4. CHEN Wei (沈炜)  แบ่งผู้ป่วย 50 ราย
                                                                               [7]
            เลือกใช้เข็มยาว 1.5 ซม. ฝังทุก ๆ 2 วัน จ�านวน 21   กลุ่มการทดลอง 25 ราย รับประทานยาแผนปัจจุบัน

            ครั้ง เลือกจุดฝังเข็มตามกลุ่มอาการ ดังนี้ กลุ่มปวด  รักษาอาการปวด 芬必得 (Buluofen Tablets) วัน
            ศีรษะจากลมร้อน ใช้จุดหลัก TaiYang (EX-HN5),   ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 0.3 g. กลุ่มการรักษา 25 ราย รักษา
            FengChi (GB 20), WaiGuan (TE 5), FengFu (GV   โดยการฝังเข็มตามเส้นลมปราณและกลุ่มอาการ เช่น

            16) ร่วมกับ YinTang (EX-HN3), ShangXing (GV   ปวดศีรษะจากปัจจัยภายนอกมากระทบ เพิ่มจุด Tai-
            23) กลุ่มปวดศีรษะจากลมเย็น ใช้จุดหลัก FengFu   Yang (EX-HN5), LieQue (LU 7), FengChi (GB
            (GV 16), LieQue (LU 7), DaZhui (GV 14) ร่วม  20), BaiHui (Gv 20) ปวดศีรษะตามเส้นลมปราณ

            กับ KunLun (BL60) กลุ่มปวดศีรษะจากความชื้น   ซ่าวหยาง เพิ่มจุด SiZhuKong (TE 23) ฝังปลายเข็มไป
            ใช้จุดหลัก ZhongWan (CV 12), DaZhui (GV 14),   ทางจุด ShuaiGu (GB 8) ปวดศีรษะตามเส้นลมปราณ

            FengLong (ST 40), TouWei (ST 8), FengFu (GV   เจวี๋ยยิน เพิ่มจุด SiShenCong (Extra 6-EX-HN1),
            16) ร่วมกับ YinLingQuan (SP 9), SanYinJiao (SP   XingJian (LR 2), TaiChong (LR 3), NeiGuan (PC
            6) กลุ่มปวดศีรษะจากเลือดพร่อง ใช้จุดหลัก XinShu   6) ปวดศีรษะจากลมร้อนมากระทบ เพิ่มจุด DaZhui
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200