Page 193 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 193
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 3 Sep-Dec 2021 739
แพทย์แผนจีน และเพื่อเป็นอีกทางเลือกในการรักษา แผนจีน แบ่งสาเหตุของอาการปวดศีรษะออกเป็น 2
การปวดศีรษะในประเทศไทยต่อไป ประเภท ได้แก่ [3]
1. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคจากภายนอกร่างกาย
วิธีก�รสืบค้นข้อมูล ปัจจัยส�าคัญคือ ลม ที่มากระทบบริเวณส่วนบนของ
ท�าการศึกษาข้อมูลงานวิจัย (documentary ร่างกาย ท�าให้เกิดภาวะเลือดและลมปราณติดขัด ไหล
research) จากเว็บไซด์ CNKI (China National เวียนไม่คล่อง โดยผู้ป่วยที่ปวดศีรษะจากสาเหตุนี้ มัก
Knowledge Infrastructure) เป็นฐานข้อมูลที่มีทั้ง จะมีอาการปวดขยายไปบริเวณต้นคอและหลัง ปวด
วิทยานิพนธ์ วารสารวิชาการของประเทศจีน ประมาณ ต่อเนื่อง และพบว่าฝ้าลิ้นมีลักษณะบางขาว ชีพจร
90% ในห้องสมุดมากกว่า 1,300 แห่ง ใน 50 ประเทศ ลอย-ตึง
ทั่วโลก โดยระบุค�าค้นหาบทความในประเทศจีนเกี่ยว 2. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคจากภายในร่างกาย
กับการรักษาอาการปวดศีรษะด้วยการฝังเข็ม คัดเลือก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแกร่ง เช่น หยางตับเกิน
งานวิจัยในปี ค.ศ. 2010 – 2020 ที่มีผู้ป่วย 20 คน ขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของหยางตับ ที่เกิดจากลมปราณ
ไป อายุระหว่าง 15-76 ปี ระยะเวลาการเจ็บป่วย 2 คั่งหรืออารมณ์โกรธ มีอาการปวดศีรษะสองข้างอย่าง
วัน-15 ปี มีอาการปวดศีรษะ และไม่มีภาวะโรคร้ายแรง รุนแรง ตามัว หงุดหงิดง่าย อารมณ์ร้อน หน้าแดง
ร่วมด้วย โดยใช้วิธีการฝังเข็มเปรียบเทียบกับการรับ ปากขม ลิ้นแดงฝ้าลิ้นเหลือง ชีพจรตึง-เร็ว กลุ่มพร่อง
ประทานยาแก้ปวด ใช้เกณฑ์การวัดผล VAS (Visual เช่น ลมปราณและเลือดพร่อง เนื่องจากได้รับสาร
Analog Scoring) ในการประเมินระดับความเจ็บ อาหารไม่เพียงพอ ท�างานหนัก สุขภาพทรุดโทรมจาก
ปวดของผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม และใช้โปรแกรม SPSS โรคเรื้อรัง หรือภาวะพร่องแต่ก�าเนิด มักจะมีอาการ
(Statistical Package for the Social Science ปวดศีรษะเรื้อรัง เวียนศีรษะ ตามัว อ่อนเพลีย สีหน้า
for Windows) ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดย ไม่สดชื่น ลิ้นซีด ชีพจรเล็ก-จม
บทความทั้งหมดนั้นเป็นบทความวิจัยที่ได้รับการตี
พิมพ์ในวารสารการแพทย์จีนต่าง ๆ ของประเทศจีน ก�รรักษ�อ�ก�รปวดศีรษะด้วยก�รฝังเข็มต�ม
แล้ว จากนั้นจึงน�าบทความที่ได้มาสรุปผลการรักษา ศ�สตร์ก�รแพทย์แผนจีน
การฝังเข็ม คือการใช้เข็มปักลงไปตามจุดต่าง ๆ
เนื้อห�ที่ทบทวน ของร่างกาย ช่วยท�าให้เลือดและลมปราณที่ติดขัด
กลไกก�รเกิดโรคและก�รจำ�แนกกลุ่มอ�ก�ร ไหลเวียนได้ดีขึ้น และสามารถคลายการหดเกร็งของ
ต�มศ�สตร์ก�รแพทย์แผนจีน กล้ามเนื้อ การฝังเข็มจึงเป็นวิธีการที่ใช้บ่อยในการ
ตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนเชื่อว่าศีรษะเป็น รักษาอาการปวด นอกจากนี้ยังสามารถใช้วิธีการนวด
ศูนย์รวมของเส้นลมปราณหยางและเลือดในอวัยวะ ทุยหนา หรือการรับประทานยาสมุนไพรจีนร่วมด้วย
ภายใน หากได้รับปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคมากระทบ ตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนแบ่งการรักษาออกเป็น
[1]
จะส่งผลให้การไหลเวียนของลมปราณและเลือดลดลง 3 แบบ [2]
ก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะ ตามศาสตร์การแพทย์ 1. ปวดศีรษะจากลมกระท�าต่อเส้นลมปราณ
[2]