Page 194 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 194

740 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก         ปีที่ 19  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2564




           หลักการ : ระบายลม ลดการอุดตันของลมปราณ ปรับ  24) และจุดกดเจ็บ หากปวดศีรษะตามเส้นลมปราณ
           การไหลเวียนลมปราณและเลือด ลดอาการปวดโดย     หยางหมิง เพิ่มจุด NeiTing (ST 44), YinTang

           เลือกทั้งจุดใกล้และจุดไกลตามแนวที่สัมพันธ์กับเส้น  (EX-HN3) ปวดศีรษะตามเส้นลมปราณเส้าหยาง เพิ่ม
           ลมปราณ โดยการกระตุ้นเข็มแบบระบาย            จุด SiZhuKong (TE 23), ZuLinQi (GB 41) ปวด
                2.  ปวดศีรษะจากหยางตับเกิน  หลักการ    ศีรษะตามเส้นลมปราณไท่หยาง เพิ่มจุด YuZhen (BL

           : เลือกจุดหลักบนเส้นลมปราณเจวี๋ยอินและเส้น  9), HouXi (SI 13) เป็นเวลา 30 นาที ต่อเนื่อง 15 วัน
           ลมปราณเส้าหยางของทั้งมือและเท้า เพื่อสงบหยางตับ   กลุ่มการทดลอง 50 ราย รับประทานยาแผนปัจจุบัน
                                         [2]
           โดยการกระตุ้นเข็มแบบระบาย จุดหลัก :FengChi   รักษาอาการปวด罗通定片 (Rotundine Tablets)
           (GB 20), BaiHui (GV 20), XuanLu (GB 5), XiaXi   30 mg. วันละ 3 ครั้ง ต่อเนื่อง 15 วัน การศึกษาพบ
           (GB 43), XingJian (LR 2)                    ว่า กลุ่มรับประทานยาแผนปัจจุบันรักษาอาการปวด
                3.  ปวดศีรษะจากลมปราณและเลือดพร่อง     มีประสิทธิผลการรักษาอาการปวดศีรษะ คิดเป็น

           หลักการ : กระตุ้นการไหลเวียนของลมปราณและ    ร้อยละ 84 จากการวัด VAS (Visual Analog Scor-
           เลือด โดยใช้จุดบนเส้นลมปราณตูและเญิ่น รวมทั้งจุด  ing) เท่ากับ (3.96 ± 0.87) กลุ่มที่รักษาโดยการฝังเข็ม

           อวัยวะหลัง (Back-Shu) ของอวัยวะที่เกี่ยวข้อง โดย  มีประสิทธิผลการรักษาปวดศีรษะ คิดเป็นร้อยละ 96
           การกระตุ้นเข็มแบบบ�ารุง จุดหลัก :BaiHui (Gv 20),   จากการวัด VAS (Visual Analog Scoring) เท่ากับ
                                    [2]
           QiHai (CV 6 ), GanShu (BL 18), PiShu (BL 20),   (2.35 ± 0.54) โดย 2 กลุ่ม มีความแตกต่างอย่างมีนัย

           ShenShu (BL 23), ZuSanLi (ST 36)            ส�าคัญสถิติที่ p < 0.05
                                                                                    [5]
                                                           2. ZHU YaHong (祝亚红)  แบ่งผู้ป่วย
                                        [4]
                1. CHEN HuiMin (陈慧敏)  แบ่งผู้ป่วย      80 ราย กลุ่มการทดลอง 40 ราย รับประทานยาแผน
           100 ราย กลุ่มการรักษา 50 ราย รักษาโดยการฝังเข็ม   ปัจจุบันรักษาอาการปวด กลุ่มการรักษา 40 ราย
           จุดหลักได้แก่ TaiYang (EX-HN5), ShenTing (GV   รักษาโดยการฝังเข็มรักษาอาการปวดศีรษะตามเส้น





           ตารางที่ 1  แสดงจุดหลักที่ใช้ในการฝังเข็มรักษาอาการปวดศีรษะจากลมกระทำาต่อเส้นลมปราณ [2]

               ตำาแหน่งที่ปวด      เส้นลมปราณที่ผ่าน                   จุดหลัก
            ท้ายทอย              เส้นลมปราณไท่หยาง      FengChi (GB 20), KunLun (BL 60), HouXi (SI 13)

            หน้าผาก              เส้นลมปราณหยางหมิง     TouWei (ST 8), YinTang (EX-HN3), ShangXing (GV
                                                        23), HeGu (LI 14), NeiTing (ST 44)
            ขมับ                 เส้นลมปราณเส้าหยาง     TaiYang (EX-HN5), ShuaiGu (GB 8), WaiGuan (TE
                                                        5), ZuLinQi (GB 41)

            กระหม่อม             เส้นลมปราณเจวี๋ยอิน    BaiHui (Gv 20), HouXi (SI 13), ZhiYin (BL 67),
                                                        TaiChong (LR 3)
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199