Page 197 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 197

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 3  Sep-Dec  2021  743




            (EX-HN5) หากปวดจากกลุ่มอาการร่างกายพร่อง    16), DaZhui (GV 14), LieQue (LU 7) และจุดกด
            เพิ่มจุด FengChi (GB 20), BaiHui (Gv 20), Zu-  เจ็บ ใช้เข็มขนาด 1.5 ซม. ฝัง 30 นาที ฝังทั้งหมด 21

            SanLi (ST 36) ในผู้ป่วยที่ปวดศีรษะแบบฉับพลัน ฝัง  ครั้ง เป็นเวลา 6 สัปดาห์ โดยฝัง 1 วัน เว้น 1 วัน กลุ่ม
            วันละ 1-2 ครั้ง ผู้ป่วยที่ปวดแบบเรื้อรัง ฝังวันละ 1 ครั้ง   ควบคุม 24 ราย รับประทานยาแก้ปวดแผนปัจจุบัน
            ประมาณ 45 นาที จ�านวน 15 ครั้ง กลุ่มการทดลอง 35   舒马曲坦 (Sumatriptan) ร่วมกับการสูดดม

            ราย รับประทานยาแก้ปวดแผนปัจจุบัน การศึกษาพบ  ออกซิเจนบริสุทธิ์ 8-10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 15 นาที
            ว่า กลุ่มการทดลอง มีประสิทธิผลการรักษา คิดเป็น  หากมีอาการปวดศีรษะแบบต่อเนื่อง ให้รับประทาน
            ร้อยละ 88.59 กลุ่มควบคุม มีประสิทธิผลการรักษา   ยา 强的松片 (Prednisone) 40-80 mg./วัน ติดต่อ

            คิดเป็นร้อยละ 70.60 โดย 2 กลุ่มมีความแตกต่าง  กัน 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นลดปริมาณเป็น 20 mg./วัน
            อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05        ติดต่อกัน 1 สัปดาห์ และลดเหลือ 10 mg./วัน ติดต่อ
                                       [12]
                 9. JIN XiaoKun (金晓坤)  แบ่งผู้ป่วย 96   กัน 1 สัปดาห์ การศึกษาพบว่า กลุ่มการทดลองไม่กลับ
            ราย กลุ่มการรักษา 48 ราย รักษาโดยการฝังเข็ม ขนาด   มามีอาการ คิดเป็นร้อยละ 95.83 กลุ่มควบคุมไม่กลับ
            1.5 ซม. เป็นเวลา 30 นาที เลือกจุดฝังเข็มตามกลุ่ม  มามีอาการ คิดเป็นร้อยละ 75 โดย 2 กลุ่ม มีความแตก

            อาการ เช่น กลุ่มอาการปวดศีรษะจากลมร้อนเลือกจุด   ต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05
                                                                                     [14]
            HeGu (LI 14), DaDun (LR 1), XingJian (LR 2)      11. SHAO ChenXu (邵晨旭)  แบ่งผู้ป่วย
            ปวดศีรษะข้างเดียวเพิ่มจุด JieXi (ST 41), ShuaiGu   177 ราย กลุ่มการรักษา 98 ราย รักษาโดยการฝังเข็ม

            (GB 8) ฝังวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 6 สัปดาห์ กลุ่ม  เลือกจุดตามกลุ่มอาการ เช่น กลุ่มอาการหยินของตับ
            ควบคุม 48 ราย รับประทานยาแก้ปวดแผนปัจจุบัน   และไตพร่อง ใช้จุด SanYinJiao (SP 6), GanShu

            舒马曲坦 (Sumatriptan) ร่วมกับการสูดดม          (BL 18), TaiXi (K 3), ShenShu (BL 23), YuYao
            ออกซิเจนบริสุทธิ์ การศึกษาพบว่า กลุ่มการทดลอง  (EX-HN4), ZanZhu (BL 2) กลุ่มอาการปวดศีรษะ
            มีประสิทธิผลการรักษา คิดเป็นร้อยละ 97.92 และ  จากลมร้อน ใช้จุด WaiGuan (TE 5), TaiYang (EX-

            กลับมามีอาการ คิดเป็นร้อยละ 4.17 กลุ่มควบคุมมี  HN5), FengFu (GV 16), FengChi (GB 20) ฝังครั้ง
            ประสิทธิผลการรักษา คิดเป็นร้อยละ 85.42 กลับมา  ละ 30 นาที เป็นเวลา 2 สัปดาห์ กลุ่มควบคุม 77 ราย
            มีอาการ คิดเป็นร้อยละ 18.75 โดย 2 กลุ่ม มีความ  รับประทานยาแผนปัจจุบันรักษาอาการปวด 罗通定

            แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05  片 (Rotundine Tablets) วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30
                                             [13]
                 10. HUANH HaiLong (黄海龙)  แบ่งผู้       mg. 复方丹参片 (Fufang Danshen Tablets)
            ป่วย 48 ราย กลุ่มการรักษา 14 ราย รักษาโดยการ  วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 3 เม็ด การศึกษาพบว่า กลุ่มการ

            ฝังเข็ม เลือกใช้จุดฝังเข็มตามกลุ่มอาการ เช่น ปวด  ทดลองมีประสิทธิผลการรักษา คิดเป็นร้อยละ 97.96
            ศีรษะจากความชื้น เลือกใช้จุด FengLong (ST 40),   กลุ่มควบคุม มีประสิทธิผลการรักษา คิดเป็นร้อยละ

            TouWei (ST 8), DaZhui (GV 14), FengFu (GV   89.87 โดย 2 กลุ่ม มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญ
            16), YinLingQuan (SP 9), SanYinJiao (SP 6)   ทางสถิติที่ p < 0.05
                                                                                   [15]
            ปวดศีรษะจากความเย็น เลือกใช้จุด FengFu (GV       12.YAN YuJiang (严毓江)  แบ่งผู้ป่วย 72
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202