Page 146 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 146
692 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
ในเพศชาย ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งล�าไส้ใหญ่ แพทย์แผนไทยโดยแพทย์แผนไทยที่มีความเชี่ยวชาญ
และทวารหนัก มะเร็งช่องปากและคอหอย มะเร็งเม็ด ประจวบกับนโยบายกัญชาเสรีทางการแพทย์ของ นาย
เลือดขาว และมะเร็งหลอดอาหาร ส่วนมะเร็งที่เป็น อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ
สาเหตุการเสียชีวิต 5 อันดับแรกในเพศหญิง ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์ (Medical Cannabis
[5]
และมะเร็งล�าไส้ใหญ่และทวารหนัก จะเห็นได้ว่าโรค Service Plan) เพื่อเพิ่มโอกาสในการรักษาโรคให้กับ
มะเร็งที่เป็นปัญหาส�าคัญ 5 อันดับแรกของประเทศ คือ ประชาชนที่เจ็บป่วยทรมาน จากกลุ่มโรคร้ายแรง เรื้อรัง
มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และไม่ตอบสนองต่อการรักษา เช่น โรคมะเร็ง จนท�าให้
และมะเร็งล�าไส้ใหญ่และทวารหนัก ซึ่งคิดเป็น 51.86% เกิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยขึ้น
ของมะเร็งทั้งหมด การรักษาโรคมะเร็งมีผลข้างเคียงการ ในการจัดตั้งคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย
รักษามาก มีอุบัติการณ์การกลับเป็นซ�้ารวมทั้งมีอัตรา นั้น จ�าเป็นต้องมีมาตรฐานในการจัดบริการคลินิกกัญชา
[6]
การรอดชีวิตต�่ากว่าโรคอื่น ๆ ท�าให้มีผู้ป่วยได้รับการ ทางการแพทย์แผนไทย โดยต้องมีความพร้อมในการ
วินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จัดบริการ ดังนี้ 1. ด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ สิ่ง
อาการของผู้ป่วยในช่วงระยะสุดท้ายของชีวิต มักจะมี แวดล้อม ต้องได้รับอนุญาตจ�าหน่ายยาเสพติดให้โทษ
อาการแสดงมากกว่าหนึ่งอาการ ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิต ประเภท 5 กัญชา ต้องมีมาตรฐานความปลอดภัย มี
ของผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้จะพบอาการมากที่สุด 5 สถานที่เก็บรักษายาเสพติดให้โทษในประเภท 5 2. ด้าน
อันดับแรก คือ (1) อ่อนเพลีย ไม่มีแรง (2) อาการปวด บุคลากร ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชา
[2]
(3) นอนไม่หลับ (4) เบื่ออาหาร (5) เวียนศีรษะ ใน ทางการแพทย์แผนไทย 3. ด้านการจัดบริการ ต้องมี
ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งระยะสุดท้าย มุ่งเน้นการรักษาแบบ ระบบคัดกรองผู้ป่วย และต้องมีการติดตามประเมิน
[3]
ประคับประคอง หรือที่เรียกว่า “Palliative care” ประสิทธิผลและความปลอดภัย จากการใช้ผลิตภัณฑ์
เป้าหมายในการรักษาคือ การรักษาตามอาการ เพื่อยก ยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 5 และรายงานให้
ระดับคุณภาพชีวิต ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบเป็นราย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เดือน ซึ่งทางโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการ
มีโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม แพทย์ผสมผสาน มีความพร้อมในด้านสถานที่ ด้าน
ผสานเป็นหน่วยงานด้านศึกษาวิจัยการบริการการแพทย์ บุคลากร ด้านการจัดบริการในเรื่องการคัดกรองแล้ว แต่
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ยังมีปัญหาด้านการติดตามประเมินประสิทธิผลและ
2555 ท�าการศึกษา ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่รักษา ความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในผู้ป่วย
[4]
แบบประคับประคองแก่ผู้ที่มีความสนใจในการแพทย์ เนื่องจากมีผู้ป่วยขาดนัดจ�านวนมาก โดยเฉพาะผู้ป่วย
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ไม่ว่าจะเป็นการรักษา มะเร็งระยะสุดท้ายที่ควรจะได้ประโยชน์จากคลินิก
ด้วยสมุนไพร หรือหัตถบ�าบัดต่าง ๆ โดยมีการจัดตั้ง กัญชาทางการแพทย์แผนไทยนี้มากที่สุด จากข้อมูลเวช
คลินิกมะเร็งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2556 เพื่อให้ค�าปรึกษา และ ระเบียน โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
รักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่มีความสนใจด้านการ ผสมผสาน ตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน 2563 ถึง 30