Page 94 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 94

324 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ตารางที่ 1  จำานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำาแนก  ตารางที่ 2  จำานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำาแนก
                    ตามข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคล                 ตามรูปแบบการบริหารยา
            คุณลักษณะส่วนบุคคล        จำานวน (ร้อยละ)  รูปแบบการบริหารยา          จำานวน (ร้อยละ)

            เพศ                                        ขนาดยาที่รับประทาน
              ชาย                       30 (50.00)       1,000 มิลลิกรัม (ครึ่งซอง)   11 (18.33)
              หญิง                      30 (50.00)
            อายุ                                         2,000 มิลลิกรัม (เต็มซอง)   49 (81.67)
              25-30 ปี                   2 (3.33)      วิธีการรับประทาน
              31-40 ปี                   1 (1.67)        ละลายนำาอุ่น               44 (73.33)
                                                              ้
              41-50 ปี                  10 (16.67)       ผสมนำาผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอน   16 (26.67)
                                                             ้
              51-60 ปี                  15 (25.00)
              มากกว่า 60 ปี ขึ้นไป      32 (53.33)     เวลารับประทาน
            สถานภาพสมรส                                  หลังอาหารเย็น              8 (13.33)
              โสด                       17 (28.33)       ก่อนนอน                    52 (86.67)
              สมรส                      41 (68.34)
              หม่าย/หย่าร้าง             2 (2.33)
            ระดับการศึกษา
              ประถมศึกษา                10 (16.67)     ของไต (GFR) ประวัติแพ้ยาหรือสมุนไพร ระดับ
              มัธยมศึกษา                21 (35.00)
              อนุปริญญา                 17 (28.33)     ความเครียด ระยะเวลาการนอนไม่หลับ พบว่า กลุ่ม
              ปริญญาตรี                 12 (20.00)     ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายและเพศหญิงในสัดส่วน
            อาชีพ                                      เท่ากัน มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป สถานภาพสมรส จบ
                 รับจ้าง                21 (35.00)
                 รับราชการ              18 (30.00)     การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ประกอบอาชีพรับจ้าง
                 แม่บ้าน                14 (23.33)     ไม่มีโรคประจำาตัว มีอัตราการกรองของไตในระยะ
                 ไม่ประกอบอาชีพ          7 (11.67)
            โรคประจำาตัว                               ที่ 1 GFR มากกว่า 90% ไม่มีประวัติแพ้ยา มีระดับ
                                                                        ่
                 มีโรคประจำาตัว         17 (28.33)     ความเครียดในระดับตำาและมีระยะเวลาการนอนไม่
                 ไม่มีโรคประจำาตัว      43 (71.67)     หลับมากกว่า 6 เดือนขึ้นไป (ตารางที่ 1) นอกจากนี้ พบ
            อัตราการกรองของไต (GFR)
                 ระยะที่ 1 GFR มากกว่า 90%   42 (70.00)  ว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่บริหารยาโดยการรับประทาน
                 ระยะที่ 2 GFR 60-90%   18 (30.00)     ยาขนาด 2,000 มิลลิกรัมต่อครั้ง ด้วยวิธีการละลาย
            ประวัติการแพ้ยาหรือสมุนไพร                        ้
                 มีประวัติแพ้ยาหรือสมุนไพร   4 (6.67)  ผงยาในนำาอุ่นและรับประทานก่อนนอนทุกวัน (ตาราง
                 ไม่มีประวัติแพ้ยาหรือสมุนไพร   54 (93.33)  ที่ 2)
            ระดับความเครียด
                           ่
                 ความเครียดระดับตำา     46 (76.67)     ผลลัพธ์ด้�นประโยชน์
                 ความเครียดระดับปกติ    14 (23.33)
                 ความเครียดระดับสูง      0 (0.00)          ประเด็นที่ 1 ภาวะการนอนไม่หลับในกลุ่ม
            ระยะเวลาการนอนไม่หลับ
                 1-3 เดือน               8 (13.33)     ตัวอย่างจำานวน 60 คน พบว่าเมื่อเริ่มรับการรักษา
                 4-6 เดือน              12 (20.00)     ไปแล้ว 1 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างจำานวน 48 คน คิด
                 มากกว่า 6 เดือน        40 (66.67)
                                                       เป็นร้อยละ 80.00 มีภาวะการนอนไม่หลับดีขึ้นและ
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99