Page 91 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 91

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  321




            ได้แก่ การปนเปื้อนเชื้อจุลชีพ โลหะหนัก และยา  ประกอบที่ 3 ระยะเวลาการนอนหลับในแต่ละคืน (ใช้
            ฆ่าแมลง ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง   คำาถามข้อ 4) องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพของการ

            สาธารณสุข                                   นอนหลับโดยปกติวิสัย (ใช้คำาถามข้อ 1, 3 และ 4)
                 1.2 เครื่องมือที่ใช้ในก�รเก็บรวบรวมข้อมูล   องค์ประกอบที่ 5 การรบกวนการนอนหลับ (ใช้คำาถาม
            ประกอบด้วย                                  ข้อ5.2-5.10) องค์ประกอบที่ 6 การใช้ยานอนหลับ (ใช้
                    ส่วนที่ 1 แบบสอบถ�มปัจจัยส่วนบุคคล  คำาถามข้อ 6) องค์ประกอบที่ 7 ผลกระทบต่อการทำา

            ที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพการ  กิจกรรมในเวลากลางวัน (ใช้คำาถาม ข้อ 7 และ 8) รวม
            ศึกษา อาชีพ โรคประจำาตัว อัตราการกรองของไต   จำานวนทั้งสิ้น 9 ข้อ โดยสอบถามถึงการนอนหลับใน

            (glomerular filtration rate, GFR) ประวัติการแพ้  ระยะ 1 เดือนที่ผ่านมา มีลักษณะคำาตอบ 2 แบบ คือ
            ยาหรือสมุนไพร ระยะเวลาการนอนไม่หลับ ขนาดยา  1) แบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก ได้แก่ ไม่เลย, น้อยกว่า
            ที่รับประทาน วิธีการรับประทาน และเวลารับประทาน  1 ครั้งต่อสัปดาห์, 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ และมากกว่า 3

                    ส่วนที่ 2 แบบวัดคว�มเครียดสวนปรุง กรม  ครั้งต่อสัปดาห์ และ 2) แบบเติมคำา ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยว
            สุขภ�พจิต (Suanprung Stress Test: SPST-20)   กับระยะเวลาในการนอนหลับ มีคะแนนรวม ไม่เกิน 21

            พัฒนาโดยสุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วนิดา พุ่มไพศาล  คะแนน สำาหรับเกณฑ์การแปลผลคะแนน แบ่งออก
            ชัย และพิมพ์มาศ ตาปัญญา (2540) จำานวนทั้งสิ้น 20   เป็น 2 ระดับ ได้แก่ มีคุณภาพการนอนหลับในระดับ
            ข้อ โดยสอบถามถึงเหตุการณ์ในระยะ 6 เดือนที่ผ่าน  ดี (น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน) และในระดับไม่ดี

            มา มีลักษณะคำาตอบเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5     (มากกว่า 5 คะแนน)
            ระดับ จากคะแนน 1-5 ได้แก่ ไม่รู้สึกเครียด เครียด   ส่วนที่ 4 แบบประเมินคุณภ�พชีวิต (EQ-

            เล็กน้อย เครียดปานกลาง เครียดมาก และเครียด  5D-5L) แบบสอบถามประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรก
            มากที่สุด ส่วนในกรณีที่ไม่ตอบ ให้ 0 คะแนน สำาหรับ  ประกอบด้วยมิติทางสุขภาพ 5 ด้าน ในแต่ละด้านให้ผู้
            เกณฑ์การแปลผลคะแนน แบ่งออกเป็น 4 ระดับ      ตอบแบบสอบถามทำาเครื่องหมายถูกในช่องสี่เหลี่ยมที่

            ได้แก่ มีความเครียดในระดับน้อย (0-23 คะแนน) ใน  ตรงกับสุขภาพของตนเองในวันนี้มากที่สุด คำาตอบที่
            ระดับปานกลาง (24-41 คะแนน) ในระดับสูง (42-61   ได้ประกอบด้วยตัวเลขจำานวน 5 ตัว เรียงตามมิติทาง
            คะแนน) และในระดับรุนแรง (62-100 คะแนน)      สุขภาพ โดยเลข 1 หมายถึงไม่มีปัญหา, เลข 2 หมาย

                    ส่วนที่ 3 แบบประเมินคุณภ�พก�รนอน    ถึงมีปัญหาเล็กน้อย, เลข 3 หมายถึงมีปัญหาปาน
            หลับฉบับภ�ษ�ไทย (Thai version of the Pitts-  กลาง, เลข 4 หมายถึงมีปัญหามาก, และเลข 5 หมาย
            burgh Sleep Quality Index: T-PSQI) พัฒนาโดย  ถึงไม่สามารถทำากิจกรรมนั้นได้หรือมีปัญหามากที่สุด

            ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์ และ วรัญ ตันชัยสวัสดิ์   คำาตอบที่ได้ในส่วนนี้จะนำาไปคำานวณ index scores
            (2540) ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์  หรือค่าอรรถประโยชน์ ส่วนที่สองแบบประเมิน

            ประกอบที่ 1 คุณภาพการนอนหลับเชิงอัตนัย (ใช้  สภาวะสุขภาพทางตรง visual analog scale (VAS)
            คำาถามข้อ 9) องค์ประกอบที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต่เข้า  สำาหรับให้ผู้ตอบให้คะแนนสุขภาพตนเอง โดย VAS
            นอนจนกระทั่งหลับ (ใช้คำาถามข้อ 2 และ 5.1) องค์  มีลักษณะเป็นเส้นคล้ายไม้บรรทัด มีตัวเลขตั้งแต่ 0
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96