Page 92 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 92

322 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ถึง 100 โดย 0 หมายถึงสุขภาพที่แย่ที่สุด 100 หมาย  หรือแพทย์แผนไทยแล้วเห็นสมควรว่าควรได้รับการ
           ถึงสุขภาพที่ดีที่สุด                        รักษาด้วยตำารับยาศุขไสยาศน์ เพื่อการรักษาหรือ
                   ส่วนที่ 5 แบบติดต�มเหตุก�รณ์ไม่พึง  บรรเทาอาการนอนไม่หลับ

           ประสงค์ (adverse event) จากการใช้ยา เป็นแบบ     3)  มีอาการนอนไม่หลับมาแล้วอย่างน้อย 1
           ของสำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) แล้ว  เดือน

           จึงนำาข้อมูลมาประเมินความสัมพันธ์ของยากับการ     4)  มีคะแนนคุณภาพการนอนหลับที่ประเมิน
           เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Naranjo Algorithm)   ด้วย T-PSQI มากกว่า 5 คะแนนขึ้นไป
           จำานวนทั้งสิ้น 10 ข้อ สอบถามเกี่ยวกับอาการแพ้ยา     5)  มีความเครียดระดับเล็กน้อยหรือปานกลาง
                                        ้
           ที่เกิดขึ้นรวมไปถึงการทดลองใช้ยาซำา การตรวจวัด     6)  ไม่มีโรคประจำาตัว ไม่ตั้งครรภ์ ไม่ให้นมบุตร
           ระดับยาในเลือด รายงานการเกิดปฏิกิริยาก่อนหน้า  ไม่มีประวัติแพ้ยาสมุนไพร
           นี้ หลักฐานที่เป็นรูปธรรม โดยผู้ประเมินจะเป็นคน     7)  ไม่มีภาวะการทำางานของไตผิดปกติ (CKD

           ให้คะแนนในแต่ละหัวข้อ ได้แก่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่ทราบ ซึ่ง  Stage 1-2) และ/หรือมีกายวิภาคของไตผิดปกติ
           แต่ละข้อจะมีคะแนนไม่เท่ากัน อยู่ในช่วง (-1, 0, +1,      8)  ไม่มีภาวะการทำางานของตับผิดปกติและ/

           +2) แล้วรวมคะแนนทั้ง 10 ข้อ สำาหรับเกณฑ์การแปล  หรือมีกายวิภาคของตับผิดปกติ
           ผลคะแนนความสัมพันธ์ระหว่างยาศุขไสยาศน์กับ       9)  มีสัญญาณชีพและอาการทางคลินิกคงที่
           การเป็นสาเหตุของการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์   (stable vital signs & clinically stable)

           แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ใช่แน่นอน (มากกว่าหรือ     10)  สามารถเข้าใจและสื่อสารภาษาไทยได้ รวม
           เท่ากับ 9 คะแนน), น่าจะใช่ (อยู่ในช่วง 5-8 คะแนน),   ทั้งสามารถติดตามได้ตลอดระยะเวลาการวิจัย

           อาจจะใช่ (อยู่ในช่วง 1-4 คะแนน), และไม่น่าใช่ (น้อย     11)  ยินดีเข้าร่วมโครงการและยินยอมลงลายมือ
           กว่า 1 หรือเท่ากับ 0 คะแนน)                 ชื่อเข้าร่วมวิจัยตามกระบวนการที่กำาหนด


           1.3 กลุ่มตัวอย่�งที่ศึกษ�                   2. วิธีก�รศึกษ�

                กลุ่มตัวอย่างวิจัยในครั้งนี้คือผู้ป่วยนอกที่มา     2.1 ขั้นตอนก�รศึกษ�
           รับบริการ ณ คลินิกหางกระรอก โรงพยาบาลพระ        เริ่มต้นการศึกษาโดยการประชาสัมพันธ์

           อาจารย์ฝั้น อาจาโร ด้วยภาวะนอนไม่หลับที่ได้รับ  โครงการแก่ผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับ ณ คลินิก
           การตรวจและประเมินจากแพทย์แผนปัจจุบันและ     หางกระรอก โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
           แพทย์แผนไทยแล้วว่าควรได้รับการรักษาด้วยตำารับ  ที่เป็นสถานที่วิจัย หลังจากชี้แจงโครงการ ให้ผู้เข้า

           ยาศุขไสยาศน์ จำานวน 60 คน ระหว่างเดือนมิถุนายน   ร่วมวิจัยที่ยินยอมเข้าร่วมโครงการลงชื่อเข้าร่วมงาน
           2563-ธันวาคม 2563 โดยมีเกณฑ์การคัดเข้า (inclu-  วิจัย และได้รับการรักษาด้วยตำารับยาศุขไสยาศน์ชนิด

           sion criteria) ดังนี้                       ผง บรรจุซองละ 2 กรัม รับประทานครั้งละ ½-1 ซอง
                                                                        ้
                                                                                  ้
                1)  มีอายุอยู่ระหว่าง 25-60 ปี         โดยนำาผงยาผสมกับนำาผึ้งรวงหรือนำาต้มสุก วันละ 1
                2)  ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนปัจจุบัน  ครั้ง ก่อนนอน ผู้วิจัย/ผู้ช่วยได้เก็บข้อมูลสำาหรับการ
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97